You are on page 1of 204

รายงาน

ของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา
ผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุม
และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
(CPTPP)
สภาผู้แทนราษฎร

กลุม่ งานคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ
สานักกรรมาธิการ ๒
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ก-๑

สารบัญ
หน้า
สารบัญ ก
รายนามคณะกรรมาธิการ ข
รายนามคณะอนุกรรมาธิการ ค
บทสรุปผู้บริหาร ง
รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๑
๑. การดาเนินงาน ๒
๒. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น ๔
๓. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๒๑
๔. ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๒๔
๔.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๒๔
๔.๒ ประเด็นการพิจารณาศึกษา ๒๗
๔.๓ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช ๒๗
๔.๓.๑ ผลกระทบด้านการเกษตร ๒๗
๔.๓.๒ ผลกระทบจากกรณีการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศ
เพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV) ๓๐
๔.๓.๓ ความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๓๕
๔.๔ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๓๘
๔.๔.๑ ภาพรวมผลการพิจารณาศึกษา ๓๘
๔.๔.๒ ผลการพิจารณาศึกษาประเด็นสาคัญ ๑๑ เรื่อง ๓๙
๑) ยา (รวมวัคซีน และชีววัตถุ) ๓๙
(๑) การรับฝากจุลชีพ) ๔๑
(๒) การเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (Patent Linkage) ๔๒
(๓) การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Government Procurement) ที่เกี่ยวกับ
สาธารณสุข ๔๔
(๔) การบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา (Compulsory Licensing : CL) ๔๖
๒) สมุนไพร ๔๗
๓) เครื่องมือแพทย์ ๔๘
๔) อาหาร ๕๐
๕) เครื่องสาอาง ๕๑
๖) ยาสูบ ๕๒
๗) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ๕๓
๘) ข้อบทว่าด้วยการคุ้มครองการลงทุน (Investment protection) และกลไกการระงับ
ข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชน (Investor-State Dispute Settlement : ISDS) ๕๔
๙) การบริการสาธารณสุข ๕๕
๑๐) การก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ของประเทศไทย ๕๗
๑๑) ข้อบทที่ถูกระงับไว้ (Suspended provisions) ๕๗
ก-๒

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
๔.๕ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน ๕๘
๔.๕.๑ ภาพรวมผลการพิจารณาศึกษา ๕๘
๔.๕.๒ ผลการพิจารณาศึกษาประเด็นสาคัญ ๑๑ ประเด็น ๕๙
๑) ภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID ๕๙
๒) การค้าสินค้า กฎถิ่นกาเนิดสินค้า และประเด็น Free Zone ๕๙
๓) การค้าบริการ การลงทุน และการเข้าเมืองชั่วคราวสาหรับนักธุรกิจ ๖๒
๔) การคุ้มครองสิทธิแรงงาน ๖๓
๕) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) ๖๓
๖) กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ
(Investor-State Dispute Settlement : ISDS) ๖๔
๗) การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ ๖๕
๘) รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานที่ได้รับสิทธิพิเศษเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ ๖๘
๙) อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT) ๗๐
๑๐) มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary : SPS) ๗๒
๑๑) สินค้าขยะอันตราย ๗๔
๕. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๗๕
๕.๑ ข้อสังเกตด้านการเกษตรและพันธุ์พืช ๗๕
๕.๒ ข้อสังเกตด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๗๕
๕.๓ ข้อสังเกตด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน ๗๗
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก หนังสือตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ ๘๖
ภาคผนวก ข ญัตติด่วน จานวน ๙ ฉบับ ๘๙
ภาคผนวก ค ผลกระทบและโอกาสด้านการเปิดตลาดของสินค้าเกษตรไทย
ภายใต้ความตกลง CPTPP ๙๐
ภาคผนวก ง ความเห็นต่อข้อกังวลของเกษตรกร และแนวทางการแก้ไข/พัฒนา
เพื่อให้เกษตรกรไทยมีความพร้อมก่อนการเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV 1991 ๑๐๓
ภาคผนวก จ สถานการณ์/การปฏิบัติ/คาดการณ์ผลกระทบของที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการจาก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และข้อกังวลของเกษตรกรที่ผลิตพืชชนิด/กลุ่มต่าง ๆ
ต่อการเข้าร่วมอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV 1991) ๑๐๙
ภาคผนวก ฉ กระบวนการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ตามภารกิจหน่วยงานภาครัฐ ๑๓๓
ภาคผนวก ช การอนุรักษ์พันธุ์พืช และฐานข้อมูลพันธุ์พืช ๑๔๕
ภาคผนวก ซ ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เสนอโดย รองศาสตราจารย์
สุรวิช วรรณไกรโรจน์ อนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช ๑๕๐
ภาคผนวก ฌ แผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ข้าว ๑๕๘
ภาคผนวก ญ บันทึกข้อสงวนความเห็นของกรรมาธิการวิสามัญ ๑๗๕
ภาคผนวก ฎ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการ ๑๗๖
ก-๓

สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
๑ กรอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วม
ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
ประเด็นยา (รวมวัคซีนและชีววัตถุ) ๔๐
๒ กรอบการพิจารณาประเด็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร และประเด็น
ผลกระทบจาก CPTPP ๔๗
๓ ระบบและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเครื่องมือแพทย์โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๔๙
๔ การกากับดูแลเครื่องสาอางของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๕๑
ข-๑

รายนามคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
สภาผู้แทนราษฎร

นายวีระกร คาประกอบ
ประธานคณะกรรมาธิการ

นายอนันต์ ศรีพันธุ์ นายศุภชัย ใจสมุทร นายเกียรติ สิทธีอมร นายระวี มาศฉมาดล


รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง คนที่สอง คนที่สาม คนที่สี่

นายมนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดารง นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ นางสาวจิราพร สินธุไพร


รองประธานคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ
คนที่ห้า

นายทศพล ทังสุบุตร นายไพศาล ดั่นคุ้ม นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม นายวาโย อัศวรุ่งเรือง


ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ ทีป่ รึกษาคณะกรรมาธิการ เลขานุการคณะกรรมาธิการ

นายเจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น นางสาวอรพินทร์ เพชรทัต นางสาวศรีนวล บุญลือ


ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการ
ข-๒

นายจักรวี วิสุทธิผล นายฐิตินันท์ แสงนาค นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ


โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ

นายวรภพ วิริยะโรจน์ นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล นายจักรพล ตั้งสุทธิธรรม รองศาสตราจารย์


โฆษกคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ จิราพร ลิ้มปานานนท์
(ตั้งแต่วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๓) กรรมาธิการ
ถึงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓)

นายเชิดชาย ใช้ไววิทย์ นางสาวทิพานัน ศิริชนะ นายธกร เลาหพงศ์ชนะ นายธีระพงษ์ วัฒนวงษ์ภิญโญ


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นางนาที รัชกิจประการ นายนิกร จานง นายเนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายปริญญ์ พานิชภักดิ์ นายปริญญา ฤกษ์หร่าย นายพิทักษ์ สันติวงษ์สกุล รองศาสตราจารย์


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ รงค์ บุญสวยขวัญ
กรรมาธิการ
ข-๓

นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล นายวิจักร อากัปกริยา นายศุภกิจ ศิริลักษณ์


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นางสาวสกุณา สาระนันท์ นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ นายสมบูรณ์ ซารัมย์ นายสะถิระ เผือกประพันธุ์


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายสุนทร รักษ์รงค์ รองศาสตราจารย์ นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์ นายอันวาร์ สาและ


กรรมาธิการ สุรวิช วรรณไกรโรจน์ กรรมาธิการ กรรมาธิการ
กรรมาธิการ

นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์
กรรมาธิการ
(ตั้งแต่วันที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓)
ข-๔

รายนามที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วม
ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
สภาผู้แทนราษฎร

๑. นายจอมพจน์ ภู่รักศักดิ์ศรี
๒. นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
๓. นายจารูญศักดิ์ จันทรมัย
๔. นายเจริญ คัมภีรภาพ
๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชล บุนนาค
๖. พันเอก ชินรัชต์ รัตนจิตเกษม
๗. นายณพวีร์ ตันติเสรี
๘. นายเทิดพงษ์ หงษ์หิรัญเรือง
๙. นายบัณฑูร วงศ์สีลโชติ
๑๐. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประมวล สุธีจารุวัฒน
๑๑. นางปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา
๑๒. นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
๑๓. นายพีรพัทธ์ วงศ์กมลพร
๑๔. นางสาวรัชดา เจียสกุล
๑๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์
๑๖. นางสาวรุจิเรข น้อยเสงี่ยม
๑๗. นางสาววริศรียา บุญสม
๑๘. นายวิฑูรย์ เลี่ยนจารูญ
๑๙. นายวิทยา ศรีชมภู
๒๐. นายวิมล ปั้นคง
๒๑. นายสมเกียรติ ไตรสรณปัญญา
๒๒. นายสฤษดิ์ ไพรทอง
๒๓. นายสิสวัฒม์ ธรรมประดิษฐ์
๒๔. นางสาวสุนีย์ วรวุฒางกูร
๒๕. นายสุรชัย กาพลานนท์วัฒน์
๒๖. ศาสตราจารย์อภิชาติ วรรณวิจิตร
๒๗. นางอัญชนา วิทยาธรรมธัช
๒๘. รองศาสตราจารย์อาชนัน เกาะไพบูลย์
ค-๑

รายนามคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช

นายอนันต์ ศรีพันธุ์
ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายนิกร จานง นายสมบูรณ์ ซารัมย์ นายวรภพ วิริยะโรจน์


รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง คนที่สอง คนที่สาม
(ตั้งแต่วันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓)
ถึงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓)

นางสาวสกุณา สาระนันท์ นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล นายสุนทร รักษ์รงค์


เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ

นายปริญญา ฤกษ์หร่าย นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ รองศาสตราจารย์


อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ สุรวิช วรรณไกรโรจน์
อนุกรรมาธิการ
ค-๒

รายนามที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช

๑. นายการาบ พานทอง
๒. นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดารง
๓. นายคณิต พระเพชร
๔. นางสาวจณัญญา บัณฑุกุล
๕. นายชนวัฒน์ สิทธิธูรณ์
๖. พันเอก ชินรัชต์ รัตนจิตเกษม
๗. นายณพวีร์ ตันติเสวี
๘. นายธนิต ชังถาวร
๙. นางสาวธิดากุญ แสนอุดม
๑๐. นางเบญจวรรณ ศิริโพธิ์
๑๑. นายปราโมทย์ เจริญศิลป์
๑๒. นายมานพ แก้วโกย
๑๓. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท
๑๔. นายวิจักร อากัปกริยา
๑๕. นายวิฑูรย์ เลี่ยนจารูญ
๑๖. นายวิทยา ศรีชมพู
๑๗. นายเศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ
๑๘. นางสิตานันท์ พูนผลทรัพย์
๑๙. นายสุชาติ จองประเสริฐ
๒๐. นางสาวสุนีย์ วรวุฒางกูร
๒๑. นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์
๒๒. ศาสตราจารย์อภิชาติ วรรณวิจิตร
๒๓. นายอารักษ์ ธีรอาพน
ค-๓

รายนามคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข

นายศุภชัย ใจสมุทร
ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นางนาที รัชกิจประการ รองศาสตราจารย์จิราพร ลิ้มปานานนท์ นายศุภกิจ ศิริลักษณ์


รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง คนทีส่ อง คนที่สาม

นายวาโย อัศวรุ่งเรือง นางสาวศรีนวล บุญลือ นายปริญญ์ พานิชภักดิ์


เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง

นายทศพล ทังสุบุตร นายธีระพงษ์ วัฒนวงษ์ภิญโญ นายไพศาล ดั่นคุ้ม


อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ
ค-๔

รายนามที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข

๑. นางสาวชุติมา อรรคลีพันธุ์ ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง


๒. นายจักรา ยอดมณี ผูช้ ่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สาม
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์
๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย รัตนชื่อสกุล
๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ
๖. พันเอก ชินรัตน์ รัตนจิตเกษม
๗. นางสาวกัลยา บุญญานุวัตร
๘. นายเฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล
๙. นายณพวีร์ ตันติเสวี
๑๐. นายต่วนอิสกันดาร์ ดาโต๊ะมูลียอ
๑๑. นายธราดล เปี่ยมพงศ์สานต์
๑๒. นายรัชวิชญ์ ปิยะปราโมทย์
๑๓. นายวิฑูรย์ ด่านวิบูลย์
๑๔. นายศิรพัทธ์ วัชราภัย
๑๕. นางสุนีย์ วรวุฒรางกรู
๑๖. นายสุชาติ จองประเสริฐ
๑๗. นางสิตานันท์ พูนผลทรัพย์
ค-๕

รายนามคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน

นายเกียรติ สิทธีอมร
ประธานคณะอนุกรรมาธิการ

นายฐิตินันท์ แสงนาค นางสาวจิราพร สินธุไพร นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม


รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง คนที่สอง

นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์


โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ

นายเชิดชาย ใช้ไววิทย์ นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล นางสาวอรพินทร์ เพชรทัต


อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ อนุกรรมาธิการ
ค-๖

รายนามที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน

๑. นายกมลินทร์ พินิจภูวดล
๒. นายไกรสินธุ์ วงศ์สุรไกร
๓. นายจอมพจน์ ภู่รักศักดิ์ศรี
๔. นายจักรพล ตั้งสุทธิธรรม
๕. นายจักรา ยอดมณี
๖. นายเจริญ คัมภีรภาพ
๗. นายณพวีร์ ตันติเสรี
๘. นายธกร เลาหพงศ์ชนะ
๙. นายนิลสุวรรณ ลีลารัศมี
๑๐. นายบัณฑูร วงศ์สีลโชติ
๑๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประมวล สุธีจารุวัฒน
๑๒. รองศาสตราจารย์ปิติ ศรีแสงนาม
๑๓. นางปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา
๑๔. นางสาวพริ้วแพร ชุมรุม
๑๕. นางสาวยศพร สุวรรณวิเชียร
๑๖. นางสาวรัชดา เจียสกุล
๑๗. นายวิมล ปั้นคง
๑๘. นางวิลาวรรณ มังคละธนะกุล
๑๙. นายศิรพัทธ์ วัชราภัย
๒๐. นายสุทัศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง
๒๑. นางสาวสุนีย์ วรวุฒางกูร
๒๒. รองศาสตราจารย์อาชนัน เกาะไพบูลย์
๒๓. นายอุดม ศรีมหาโชตะ
๒๔. นางภัทรพร วรทรัพย์ รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง ผู้แทนกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
๒๕. ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
ง-๑
บทสรุปผู้บริหาร
เมื่อรัฐบาลไทยมีความสนใจที่จะเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่ว น
ทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ซึ่งเป็นความตกลงการค้าเสรีที่ครอบคลุมประเด็นทางการค้าหลายด้าน
ที่ส่งผลกระทบต่อภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคเกษตร ภาควิชาการ และภาคประชาชน
สืบเนื่องจากความเห็นของแต่ละฝ่ายที่ไม่ตรงกัน ความไม่เข้าใจ ความคลุมเครือของข้อมูลทาให้เกิด ข้อกังวล
ในผลกระทบต่ า ง ๆ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น หากประเทศไทยเข้ า ร่ ว มความตกลง CPTPP ยั ง ผลให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง
และต่อต้านอย่างรุนแรงขึ้นในสังคม เกิดข้อกังวลในผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับการแข่งขันที่สูงขึ้นจากสินค้า
และบริการจากประเทศสมาชิก และต้องยอมรับพันธกรณีที่อาจมีผลกระทบในวงกว้าง ในประเด็น ต่าง ๆ เช่น
การเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตร การรอนสิทธิในการใช้พืชพันธุ์การค้าหลังจากการเข้าเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญา
UPOV การขึ้นทะเบียนและคุ้มครองเมล็ดพันธุ์ใหม่ การรับฝากจุลชีพ การใช้สิทธิตามสิทธิบัตร (Compulsory
Licensing : CL) การเปิดตลาดบริการและการลงทุน การคุ้มครองด้านสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น การใช้
กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ การเปิดตลาดการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ การให้รัฐวิสาหกิจดาเนินการ
ซื้อขายสิ น ค้าและบริ การเชิงพาณิช ย์ และการให้ สิทธิแรงงานต่า งด้าวรวมตัว จัดตั้งสหภาพ เป็นต้น ดังนั้น
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร จึงได้มีมติเห็นชอบให้มีการตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบ
จากการเข้าร่วมความตกลง CPTPP เพื่อศึกษาประโยชน์และผลกระทบที่ไทยจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP
และรับฟังความเห็นอย่างรอบด้านผ่านกลไกรัฐสภา เพื่อรวบรวมเป็นข้อสังเกตและข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลต่อไป
คณะกรรมาธิการดาเนินการพิจารณาศึกษาจากโอกาสและผลกระทบ ด้านการเกษตร ด้านการ
สาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน จากข้อมูล ข้อเท็จจริง เอกสาร หลักฐาน รายงานการศึกษาวิจัย
ตลอดจนคาชี้แจงและความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่เข้ าร่วมประชุมในประเด็นสาคัญ ๓ ประเด็นหลัก
ที่ได้รับผลกระทบและมีความขัดแย้งและเป็นข้อกังวลอย่างรุนแรงในสังคม ประกอบด้วย ๑) ผลกระทบด้าน
การเกษตรและพันธุ์พืช ๒) ผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข ๓) ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และ
การลงทุน โดยในภาพรวมคณะกรรมาธิการเห็นว่า
(๑) ประเทศไทยจะต้อ งมีการเตรี ยมความพร้ อมในหลายเรื่อง ซึ่งจ าเป็น ที่รัฐ บาลจะต้องให้
การสนับสนุน
(๒) รัฐบาลต้องมีข้อมูลที่เพียงพอ เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายทั้งด้านบวก ภาระงบประมาณ
ที่จะเกิดขึ้นจากการเยียวยาจากผลกระทบด้านลบ
(๓) การเจรจาของรัฐบาลควรมีกรอบการเจรจาที่เกิดจากกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชน โดยเฉพาะประเด็นอ่อนไหว ซึ่งหากเจรจาไม่ได้ตามที่ระบุไว้ ก็ไม่ควรเข้าร่วมเป็นภาคีความตกลง
(๔) รัฐบาลต้องผลักดันให้มีการจัดตั้งกองทุนที่มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยเหลือ
ผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า
ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกตในประเด็นดังกล่าว ดังนี้
๑. ประเด็นผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช
คณะกรรมาธิการพิจารณาแล้วเห็นว่า เกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ด้านการเกษตรของไทย จะได้รับผลกระทบอย่างมากและกว้างขวาง ถ้าประเทศไทยเป็นสมาชิกความตกลง
CPTPP ทั้งจากการเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตรและจากการรอนสิทธิในการใช้พืชพันธุ์การค้าหลังจากการเข้าเป็น
ภาคีสมาชิกอนุสัญญา UPOV ดังนั้น ประเทศไทยจึงยังไม่พร้อมจะเข้าเจรจาความตกลง CPTPP จนกว่าจะมี
การทาความเข้าใจให้เกษตรกรยอมรับการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV การเตรียมความพร้อมให้แก่เกษตรกร
ง-๒
ซึ่งยังไม่สามารถพึ่งพาตนเองและไม่สามารถสู้ได้ในเวทีโลก โดยการสนับสนุนเชิงนโยบาย และเพิ่มงบประมาณ
วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและขยายพันธุ์พืช เพื่ อเผยแพร่แก่เกษตรกร และเพื่อใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบด้าน
ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และจัดทา
กฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
ได้กาหนดว่า จะมีการจัดสรรงบประมาณและอัตรากาลังบุคลากร เพื่อการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชและเพื่อ
การขยายพันธุ์พืช เพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งให้แก่ระบบเกษตรกรรมไทย เช่น ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ แผนงาน
บูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควรได้รับงบประมาณมากกว่า ๑,๔๔๗
ล้านบาท ตามที่ได้กาหนดไว้ แต่ในทางปฏิบัติการจัดสรรงบประมาณในแผนงานดังกล่าวต่ากว่าที่กาหนดไว้ทุกปี
การจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP หรือความตกลงเปิดเขตการค้าเสรีมาตรฐานสูงอื่นใด ประเทศไทยควรมี
ความพร้ อ มที่ จ ะเป็ น ประเทศผู้ ข ายพั น ธุ์ พื ช ให้ แ ก่ ป ระเทศภาคี ส มาชิ ก ตลอดจนได้ รั บ ประโยชน์ จ าก
การเข้าร่วม CPTPP
คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกต ดังนี้
๑.๑ รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานในการส่งเสริมด้านการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช โดยกลุ่ม
เกษตรกรมีส่วนร่วมตลอดกระบวนการปรับปรุงพันธุ์พืช โดยผู้วิจัยและพัฒนาพันธุ์ต้องผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย
ในจานวนที่พอเพียงต่อความต้องการของกรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร และศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืช
ชุมชนในการนาไปผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย เผยแพร่แก่เกษตรกร เพื่อให้เกิด ความสมดุลกับพันธุ์ลูกผสมของภาค
ธุร กิจเอกชนตามหลั กของความได้สั ดส่ ว น ที่ต้องให้การคุ้มครองสิทธินักปรั บปรุงพันธุ์พืช กระทบสิ ทธิของ
เกษตรกรในระดับพอประมาณ โดยการสนับสนุนงบประมาณและบุคลากรให้เพียงพอและต่อเนื่อง
๑.๒ รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณ และอัตราบุคลากรด้านการปรับปรุงพันธุ์และด้านการผลิต
เมล็ดพันธุ์แก่กรมการข้าว เพื่อสามารถนาเชื้อพันธุกรรมข้าวที่เก็บรวบรวมไว้ มาใช้ประโยชน์เต็มตามศักยภาพ
ของพันธุ์ และเพื่อให้กรมการข้าวสามารถกากับดูแลการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของข้าว เพิ่มจากประมาณ
ร้อยละ ๓๐ ของเมล็ดพันธุ์จาหน่ายที่ชาวนาต้องซื้อมาใช้ เป็นประมาณร้อยละ ๖๐ เพื่อสร้างดุลยภาพด้าน
ความมั่นคงทางเมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ฌ)
๑.๓ รัฐต้องเร่งรัดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ (ตัวอย่างร่าง
กฎหมายในภาคผนวก ซ) และอนุบัญญัติ เพื่อแก้ปัญหาการใช้กฎหมาย เตรียมการให้กลุ่มเกษตรกรมีการปรับตัว
และสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการปรับปรุงพันธุ์และพัฒนาพันธุ์พืช เอื้อประโยชน์ต่อการทาเกษตรยั่งยืน
และขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้น ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ
คุ้มครองพันธุ์พืชให้มีผลใกล้เคียงกับหลักการของอนุสัญญา UPOV 1991 อนุสัญญาอื่นที่ประเทศไทยเป็นภาคี
สมาชิก และให้เหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิตและสังคมเกษตรกรรมไทย ทั้งยังต้องเร่งรัดออกกฎหมายให้สอดคล้อง
กับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อการนี้
๑.๔ รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานแบบบูรณาการด้านพันธุ์พืชกับการพัฒนาการเกษตรแบบ
พึ่งตนเองได้ โดยส่งเสริมให้มีเครือข่ายการดาเนินงานแบบบูรณาการของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเกษตรกร
ในด้านพันธุ์พืชและศูนย์ผลิตพันธุ์พืชชุมชน เพื่อให้สามารถให้บริการด้านเมล็ดพันธุ์และส่วนขยายพันธุ์พืช
ที่เหมาะสมแก่เกษตรกรได้ อย่างมีมาตรฐานและเพียงพอกับความต้องการ โดยการสนับสนุนงบประมาณและ
บุคลากรให้เพียงพอและต่อเนื่อง
๑.๕ รั ฐ ต้ อ งเร่ ง รั ด ให้ ห น่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งด าเนิ น การพิ จ ารณาปรั บ โครงสร้ า งการผลิ ต
ภาคเกษตรเป็นการด่วน ให้ครอบคลุมตั้งแต่ระดับฟาร์มถึงการแปรรูปขั้นต้น เพื่อเพิ่มรายได้สุทธิแก่เกษตรกร
ให้สัมพันธ์กับค่าแรงขั้นต่า และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านสินค้าเกษตรของประเทศ
ง-๓
๑.๖ รัฐต้องทาความเข้าใจกับเกษตรกรที่ปลูกพืชทุกกลุ่ม เช่น ข้าว พืชไร่ ผัก ไม้ผล ไม้ดอก
พืชเครื่องดื่ม และสมุนไพร-เครื่องเทศ และผู้ที่เกี่ยวข้องในทุกจัง หวัดทั่วประเทศ ในเรื่องเกี่ยวกับ CPTPP และ
ข้อบทที่เกี่ยวกับ UPOV ให้ชัดเจนถึงผลได้-ผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้น
๒. ประเด็นผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการพิจ ารณาแล้ วเห็ นว่า การเข้าร่ว มเจรจาความตกลง CPTPP ในประเด็น
ผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุขนั้น ขึ้นกับความพร้อมและการเตรียมการภายในประเทศ
คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกต ดังนี้
๒.๑ ยังมีประเด็นที่ควรศึกษาและ/หรือวิจัยต่อยอดเพิ่มเติมในลักษณะที่บูรณาการระหว่าง
ประเด็น ได้แก่
(๑) ขนาดของผลกระทบทั้งทางด้านการขึ้นทะเบียนตารับยา การเข้าถึงยาของประชาชน
และอุตสาหกรรมยาชื่อสามัญของไทย ตลอดจนกระบวนการในการเยียวยาต่อผู้ได้รับผลกระทบในกรณีของ
การเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา
(๒) ผลกระทบระยะยาวทั้ง ในด้า นขี ดความสามารถในการแข่งขั น ทั้ง ด้า นการวิจั ย
และพัฒนาของนักวิจัย และการแข่งขันทางการตลาดของอุตสาหกรรมยาไทย ความมั่นคงทางยาและการพึ่งพิง
การนาเข้าจากต่างประเทศ ตลอดจนราคายาและความสามารถในการเข้าถึงยาของประชาชนไทย ในกรณี
การเปิดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
(๓) ความคุ้มค่ากับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความล้ าสมัยของเครื่องมือ
แพทย์ และความสามารถในการกาจัดขยะของประเทศไทย
(๔) วิ ธี ก ารใหม่ ที่ จ ะใช้ แ ทนการแสดงเลขที่ รั บ แจ้ ง นี้ ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ เ พื่ อ การคุ้ ม ครอง
ผู้บริโภคโดยไม่เป็นภาระต่อผู้บริโภคในการตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ รวมถึงต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่จะใช้
วิธีการใหม่นั้น แทนเลขที่รับแจ้งที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
๒.๒ มีความจาเป็นที่หน่วยงานภาครัฐทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาร่วมประชุมและปรึกษา
หารือถึงผลกระทบเชิงโครงสร้าง ซึ่งประเทศไทยควรจะต้องเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเข้าร่วมในความตกลงนี้
โดยจะต้องเสนอแนวทางปฏิบัติภายในแต่ละหน่วยงาน การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงานที่มีหน้ าที่
และอานาจซ้อนทับกัน การเพิ่มภาระงานให้บางหน่วยงานอาจมีความจาเป็นที่จะต้องจัดสรรบุคลากรใหม่หรือ
มีการบูรณาการในการทางานระหว่างหน่วยงานเพิ่มขึ้น รวมถึงรัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ
ให้กับหน่วยงาน ในประเด็นต่อไปนี้
(๑) สร้างกระบวนการเชื่อมโยงสิทธิบัต รกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (Patent Linkage)
และจะต้องเกิดการทางานร่ว มกั น โดย อย. และกรมทรัพย์สิ นทางปัญญาอย่างหลี กเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้
กระบวนการ Patent Linkage ซึ่งส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยาและภาคสาธารณสุข
(๒) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดาเนินการรวบรวมและจัด ทาฐานข้อมูลพันธุ์พืชสมุนไพร
ของประเทศไทยให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันโดยเร็วที่สุด และจัดตั้งหน่วยเฝ้าระวังการลักลอบนาพันธุ์พืชไทย
ไปจดทะเบียนสิทธิ ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงทางสมุนไพรของไทย ไม่ว่าจะเข้าร่วมอนุสัญญา
UPOV 1991 หรือไม่ก็ตาม
(๓) ท าความชั ด เจนในการก าหนดนิ ย ามและพิ กั ด ศุ ล กากรเครื่ อ งมื อ แพทย์ ที่ เ ป็ น
Remanufactured Goods และการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเรื่องการจัดซื้อโดยสถานพยาบาล
ภาครัฐ
ง-๔
(๔) รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของ
บุคลากรและห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบเพื่อการจาแนกเครื่องมือแพทย์ Remanufactured Goods และ
เครื่องมือแพทย์ที่ใช้แล้วหรือเครื่องมือแพทย์มือสอง เพื่อรับประกันด้านมาตรฐานของเครื่องมือแพทย์และ
ความปลอดภัยของประชาชน
๒.๓ รัฐบาลควรเสนอร่างข้อบังคับหรือกฎหมายที่จะต้องตราขึ้นใหม่ เพื่อทาให้เกิดสภาพ
บังคับภายในราชอาณาจักรก่อนที่จะเข้าร่วมความตกลงดังกล่าว เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลาย ทั้งหน่วยงาน
ภาครัฐ เอกชน และประชาชนโดยทั่วไปได้รับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้แสดงความคิดเห็น
และเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง ดังนี้
(๑) กฎหมายภายในประเทศ เพื่อกาหนดให้ผู้ที่ต้องการขอขึ้นทะเบียนยาที่มีส่วนประกอบ
ของจุ ลชีพ หรือจดทะเบี ยนทรั พย์สิ นทางปัญญาที่เกี่ยวกับจุลชีพ ต้องสาแดงแหล่งที่มาร่วมด้วยให้ เร็ว ที่สุ ด
เพื่อคุ้มครองจุลชีพจากแหล่งต้นกาเนิดภายในประเทศ
(๒) การกาหนดมาตรฐานในเรื่องอาหารของความตกลง CPTPP โดยอ้างอิงหลักการของ
CODEX guideline โดยภาครัฐควรแถลงให้ชัดเจนในประเด็นนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจแก่ภาคประชาชน
๒.๔ รัฐบาลควรที่จะจัดเตรียมมาตรการเยียวยาผู้ไ ด้รับผลกระทบทางลบจากการเข้าร่ว ม
ความตกลงนี้ไว้ล่วงหน้าด้วย
๒.๕ ในกรณีที่รัฐบาลได้เตรียมพร้อมตามข้อ ๒.๑ ถึงข้อ ๒.๔ เรียบร้อยแล้ว และต้องการ
เจรจาเพื่อเข้าร่วมความตกลง CPTPP ในการเจรจาต้องกาหนดประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการแพทย์และ
การสาธารณสุข ดังนี้
(๑) ท าข้ อ สงวนของประเทศไทยประเด็ น จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งภาครั ฐ โดยยึ ด ต้ น แบบจาก
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งสามารถขอยกเว้นตลาดได้ ร้อยละ ๕๐ ในระยะเวลา ๒๐ ปี
(๒) ขอตั้งข้อสงวนสาหรับมาตรการควบคุมยาสูบของประเทศไทย
(๓) ขอตั้งข้อสงวนมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย
(๔) ขอจั ด ท า side letter เพื่ อ ยกเว้ น สิ ท ธิ ก ากั บ ดู แ ลของรั ฐ (rights to regulate)
สาหรับมาตรการด้านการสาธารณสุข ออกจากการฟ้องร้องรัฐด้วยกลไก ISDS
(๕) ขอตั้งข้อสงวนตามข้อกังวลในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการให้บริการทางวิชาชีพจาก
ทุกสภาวิชาชีพตามที่กาหนดไว้ในข้อบทของบทที่ ๙ และบทที่ ๑๐ ทั้งนี้ หากข้อกังวลใดมีกฎหมายบัญญัติไว้
เป็นการเฉพาะอยู่แล้ว ณ ปัจจุบัน สามารถระบุไว้เป็นข้อสงวนใน Annex I หากแต่ข้อกังวลใดยังไม่มีกฎหมาย
บั ญญั ติไ ว้ชั ดเจน อาจระบุ ไ ว้เ ป็ น ข้อสงวนใน Annex II หรืออาจออกกฎหมายภายในประเทศเพื่อ รองรั บ
และคลายข้อกังวลเหล่านั้นเสียก่อน แล้วนาไประบุเป็นข้อสงวนไว้ใน Annex I แทน
(๖) กระทรวงพาณิชย์นาข้อเสนอการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)
ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เพื่อพิจารณาแนวทางเพิ่มเติม
๓. ประเด็นผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน
คณะกรรมาธิการมีความเห็นว่า การจะตัดสินใจเข้าร่วมความตกลง CPTPP หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ
ความพร้ อมของประเทศ โดยเห็ น ว่า ปั จจุ บัน ประเทศไทยยัง จาเป็ น ต้อ งเตรี ยมความพร้อ มในหลายด้ า น
ซึ่งจาเป็นที่รัฐบาลจะต้องมีนโยบาย มีโครงการที่ชัดเจนและจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ เพื่อเตรียมความพร้อม
และปรับโครงสร้างภายในประเทศ
ง-๕
คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกต ดังนี้
๓.๑ รั ฐ บาลจะต้ อ งผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การปรั บ โครงสร้ า งภายในประเทศ ด้ า นกฎระเบี ย บ
กลไกการดาเนินงาน รวมถึงงบประมาณที่เพียงพอ เพื่อสร้างความพร้อมในการแข่งขันและการเปิดเสรีทางการค้า
อาทิ การปรับโครงสร้างอากรขาเข้าวัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูปให้เป็นร้อยละศูนย์ เพื่อให้ผู้ผลิตและผู้ประกอบการ
ในประเทศสามารถแข่งขันกับสินค้าสาเร็จรูปที่นาเข้าได้ และการปรับโครงสร้างภาษีสาหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ที่ควรมีความเท่าเทียมและเป็นธรรมระหว่างผู้ประกอบการ ทั้งที่ตั้งกิจการอยู่ในต่างประเทศและในประเทศไทย
โดยให้มีการเก็บภาษีดิจิทัล (Digital Tax) ขั้นต่าที่ร้อยละ ๒ กับผู้ประกอบการที่อยู่นอกประเทศ และเก็บภาษี
หัก ณ ที่จ่าย ร้อยละ ๒ กับผู้ประกอบการในไทย
๓.๒ หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องเพิ่มการกากับดูแลมาตรฐานและคุณภาพสินค้านาเข้า
ทั้งสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถทาได้ภายใต้กติกาขององค์การการค้าโลก (World
Trade Organization : WTO) โดยเร่งกาหนดมาตรฐานภาคบังคับในระดับที่ผู้ประกอบการไทยสามารถทาได้
ให้ครอบคลุมสินค้าอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ของสินค้าที่ทาการค้าระหว่างกันภายใน ๓ ปี และรัฐบาลจะต้องจัดสรร
งบประมาณและบุคลากรให้อย่างเพียงพอด้วย
๓.๓ หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่เ กี่ยวข้องจะต้ องปรับปรุง กลไกการกากับดูแล และการคุ้มครอง
ผู้บริโภค ทั้งในระบบเศรษฐกิจการค้าแบบดั้งเดิมและดิจิทัล รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
มีส่วนร่วมและบทบาทในการติดตาม ดูแล และตรวจสอบการกระทาที่อาจละเมิดต่อสิทธิของผู้บริโภคด้วย
๓.๔ เนื่องจากการจัดทาความตกลงการค้าเสรีจะมีทั้งผู้ได้ประโยชน์และผู้ได้รับผลกระทบ
ดังนั้น รัฐบาลจะต้องผลักดันให้มีการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าที่เป็น
กลไกต่อเนื่องและเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้สามารถปรับตัวและรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีได้อย่างเหมาะสมด้วย
๓.๕ ภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID พบว่า ผลการศึกษาโดยแบบจาลอง
ในช่วงที่ผ่านมา เป็นการศึกษาซึ่งยังไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ดังนั้น
รัฐบาลควรสนับ สนุนให้ หน่วยงานภาครั ฐที่เกี่ยวข้องทุกกระทรวง มีส่วนร่วมในการศึกษา และประเมินผล
กระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเจรจาจัดทาความตกลงเปิดเสรีทางการค้า ทั้งในปัจจุบันและในอนาคตด้วย
๓.๖ ประเด็นการค้าสินค้า กฎถิ่นกาเนิดสินค้า และประเด็น Free Zone
(๑) รัฐบาลต้องปรับโครงสร้างอัตราอากรขาเข้าของวัตถุดิบและสินค้ากึ่งสาเร็จรูป เพื่อลด
ต้นทุนของผู้ประกอบการให้แข่งขันกับสินค้าสาเร็จรูปนาเข้าที่มีอัตราอากรขาเข้าเป็นศูนย์
(๒) รัฐต้องมีการจัดสรรงบประมาณช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวได้
อย่างเร็ว รวมถึงจัดทากองทุนช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า โดยกองทุนนั้นจะต้อง
เป็นกองทุนที่มั่นคง ต่อเนื่อง และเข้าถึงได้ง่าย
(๓) รัฐต้องเร่งการแก้ไขประกาศกระทรวงการคลังในเรื่องการยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่ผลิต
ใน Free Zone เข้ามาจาหน่ายในประเทศไทยตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
(๔) หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บการก าหนดมาตรฐานสิ น ค้ า จะต้ อ งเร่ ง จั ด ท า
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ในส่วนของสินค้าเกษตร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะต้องดาเนินการจัดทา
มาตรฐานนาเข้าสินค้าเกษตร เพื่อป้องกันสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานแต่ราคาต่าเข้ามาจาหน่ายแข่งกั บสินค้าใน
ประเทศ ทั้งนี้รัฐบาลจะต้องจัดสรรกาลังคนและงบประมาณให้หน่วยงานดังกล่าว เพื่อให้สามารถดาเนินการได้
สาเร็จตามเป้าหมายด้วย
ง-๖
(๕) รัฐจะต้องร่ วมมือกับภาคเอกชนในการเร่งให้ความรู้กับผู้ ประกอบการที่ผลิ ตและ
ส่งออกไปยังประเทศสมาชิก CPTPP เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากเกณฑ์กฎถิ่นกาเนิดสินค้าภายใต้ความตกลง
CPTPP ได้สูงสุด
๓.๗ ประเด็นการค้าบริการ การลงทุน และการเข้าเมืองชั่วคราวสาหรับนักธุรกิจ
ภาครัฐต้องหารือกับกลุ่มผู้ประกอบการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินความพร้อม
และกลุ่ มใด/สาขาบริ การใดจะได้รั บผลกระทบ เพื่อพิจารณาออกมาตรการของรัฐ ในการสนับสนุนให้เกิด
การปรับตัวและแข่งขันได้ รวมถึงพิจารณาท่าทีในการเจรจาจัดทาข้อสงวนที่จะไม่เปิดตลาดหรือกาหนดเวลา
ปรับตัว (transition period) สาหรับกลุ่มที่อ่อนไหวสูงต่อไป
๓.๘ ประเด็นการคุ้มครองสิทธิแรงงาน
กระทรวงแรงงานควรพิจารณาแก้ไข พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยต้อง
ไม่กีดกันต่างด้าวในการก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงาน (ไม่ต้องกาหนดสัญชาติของผู้ก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงาน)
แต่ให้ สามารถกาหนดเงื่อนไขและคุณสมบัติที่เหมาะสมของผู้ก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงานได้ ซึ่งไม่ถือเป็น
ข้อห้ามตามหลักการขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
๓.๙ ประเด็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)
(๑) ภาครั ฐ ควรให้ ค วามส าคั ญ และแสดงข้ อ เรี ย กร้ อ งของประเทศไทยในทุ ก เวที
โดยเฉพาะองค์การการค้าโลก ในเรื่องการกากับดูแลข้อมูลส่วนบุคคลอย่างเหมาะสมของผู้ประกอบการธุรกิจ
ด้านดิจิ ทัล หรื อ e - commerce ทั้ งที่ ตั้งอยู่ใ นต่ างประเทศและในประเทศ โดยเฉพาะปัญ หาการละเมิ ด
ลักลอบ หรือนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย
(๒) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ต้องยกระดับการกากับดูแลและคุ้มครองผู้บริโภค
ในการซื้อขายสินค้า และใช้บริการด้านดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ
(๓) รัฐบาลจะต้องมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการ e - commerce
และแพลตฟอร์มของประเทศไทย ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้ โดยเฉพาะในเวทีอาเซียน
เพื่อเป็นมาตรฐานในภูมิภาค และสามารถพัฒนาศักยภาพต่อไปในตลาดที่ใหญ่ขึ้น
(๔) รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน เช่น สานักงานคณะกรรมการแข่งขัน
ทางการค้า ควรหารือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดทิศทางในการกากับดูแลผู้ให้บริการ e - commerce
ให้ บ ริ ก ารได้ อ ย่ า งเสรี แ ละเป็ น ธรรม มิ ให้ ผู้ ให้ บริ ก ารรายใหญ่ ทั้ง ที่ตั้ ง อยู่ ใ นประเทศไทยและต่า งประเทศ
ที่มีอานาจเหนือตลาดมีพฤติกรรมที่กระทบต่อการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม
๓.๑๐ ประเด็นกลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ (Investor-State Dispute Settlement : ISDS)
(๑) หากประเทศไทยเข้ าร่ ว มเจรจาเป็ นสมาชิ ก CPTPP ประเทศไทยจะต้ องเน้น ย้ า
สิทธิในการกากับดูแลของรัฐ (Right to regulate) ว่า ครอบคลุมทุกมิติรวมทั้งด้านความมั่นคง โดยอาจเจรจา
เพื่อจั ดทาภาคผนวก (Annex) ของข้อบทลงทุนที่ ประเทศไทยมีสิทธิในการเจรจาข้อสงวน ซึ่ง ประเทศไทย
อาจทาเป็น side letter หรือความตกลงเฉพาะกับประเทศสมาชิกบางประเทศได้ แล้วแต่กรณี
(๒) ไม่ ว่าประเทศไทยจะเข้า ร่ว มเจรจาหรื อ เป็น ภาคี ในความตกลงใด ๆ ในอนาคต
รัฐบาลต้องสร้างกลไกเพื่อให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องรับทราบ และปรับตัวเพื่อให้สามารถปฏิบัติตาม
พันธกรณีได้อย่างครบถ้วน เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดข้อพิพาทระหว่างรัฐกับนักลงทุน
ง-๗
๓.๑๑ ประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ
(๑) เนื่องจากที่ผ่านมาประเทศไทยยังไม่มีนโยบาย offset เป็นการเฉพาะ คณะกรรมาธิการ
เห็นว่า รั ฐควรทาการศึกษาและกาหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ offset ให้ชัดเจน รวมถึงกาหนดระยะเวลา
ที่จาเป็นในการนา offset มาใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ
(๒) ให้กรมบัญชีกลางศึกษากฎหมาย ที่กฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐของประเทศไทย
ไม่ส อดคล้ องกับ ความตกลง CPTPP รวมถึงกฎหมายหรือข้อบังคับอื่น ๆ ที่กรมบัญชีกลางเห็นว่าสามารถ
ดาเนินการได้ เช่น บัญชีนวัตกรรม การกาหนดเงื่อนไขให้นักลงทุนปฏิบัติ (performance requirements) หรือ
กฎระเบียบกระทรวงการคลังฯ อื่น ๆ ที่ประเทศไทยควรจะปรับแก้ไขให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในระบบ
เศรษฐกิจโลก
(๓) หน่ ว ยงานภาครั ฐ ควรมี ก ระบวนการตรวจสอบการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งที่ ไ ด้ ม าโดย
เงินบริจาค เพื่อความโปร่งใสและป้องกันการเอื้อประโยชน์แก่กลุ่มทุน
๓.๑๒ ประเด็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานที่ได้รับสิทธิพิเศษเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ
(๑) ประเทศไทยยังสามารถเจรจา เพื่อขอสงวนรัฐ วิส าหกิจที่ไม่ส ามารถปฏิบัติตาม
ข้อบทของ CPTPP ในเรื่องการห้ามเลือกปฏิบัติ และการห้ามอุดหนุนหรือช่วยเหลือได้
(๒) กรณีองค์การเภสัชกรรม ภาครัฐควรมีการกาหนดบทบาทภารกิจให้ชัดเจน โดยเน้น
เรื่องเป้าหมายในการรักษาความมั่นคงทางยาและด้านสุขภาพประชาชนเป็ นหลัก ควรพิจารณายกเลิกการส่ง
เงินเข้าคลังจากรายได้เชิงพาณิชย์ เพื่อไม่ให้เป็นภาระที่กระทบต่อพันธกิจหลักของ อภ. เพื่อประโยชน์ของ
ประชาชน และสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนา (R&D) เกี่ยวกับยาและเวชภัณฑ์ ทั้งนี้ ภาครัฐอาจพิจารณา
ทบทวนนโยบายในการจัดซื้อยาโดยวิธีเ ฉพาะเจาะจงจากองค์การเภสัชกรรม เนื่องจากอาจเป็นสาเหตุหนึ่ง
ที่ทาให้ประชาชนซื้อยาในราคาแพงในบางกรณี นอกจากนี้ หากตัดสินใจจะเข้าร่วมเจรจาเป็นสมาชิก CPTPP
รัฐบาลต้องตั้งข้อสงวน โดยกาหนดระยะเวลาเปลี่ยนผ่านสาหรับยา และเวชภัณฑ์ดังเช่นที่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ
กาหนดไว้ เช่น เวียดนาม เป็นต้น
๓.๑๓ ประเด็นด้านอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรเพิ่มการกากับดูแลมาตรฐานและคุณภาพสินค้านาเข้า โดยเร่ง
กาหนดมาตรฐานบั งคับในระดับที่ผู้ ประกอบการไทยสามารถทาได้ โดยรัฐ บาลจะต้องจัดสรรงบประมาณ
สนับสนุนการปรับปรุงกฎระเบียบและการจัดทามาตรฐานสินค้า เพื่อรองรับการเจรจาความตกลงการค้าเสรี
สมัยใหม่ในอนาคต ในขณะเดียวกัน หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องพิจารณาและทบทวนมาตรการต่าง ๆ
ในประเทศที่อาจเป็นอุปสรรคทางการค้าที่ไม่จาเป็น เช่น มาตรการด้านฉลากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
๓.๑๔ ประเด็นมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary : SPS)
การประเมินความเสี่ยง และการใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์มาเป็นหลักฐานสนับสนุน
มาตรการที่ บั ง คั บ ใช้ เป็ น หลั กการที่ ป ระเทศไทยต้อ งด าเนิน การให้ ส อดคล้ อ งกับ พั น ธกรณีภ ายใต้ WTO
และความตกลงอื่น ๆ อยู่แล้ว ความตกลง CPTPP จึงเป็นการเพิ่มช่องทางการนาเรื่องเข้าสู่กระบวนการระงับ
ข้อพิพาทอีกช่องทางหนึ่ง
๓.๑๕ ประเด็นสินค้าขยะอันตราย
(๑) รั ฐ บาลจะต้องเร่งศึกษาประโยชน์และผลกระทบในการให้ สั ตยาบันต่อข้อแก้ไ ข
อนุสัญญาบาเซลเพื่อห้ามการส่งออก (Basel Ban Amendment) โดยเฉพาะในประเด็นผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
กับประเทศไทยจากการห้ามส่งออกของเสียอันตรายไปรีไซเคิลยังประเทศปลายทาง
ง-๘
(๒) รัฐบาลจะต้องมีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการอนุญาตโรงงานรีไซเคิลในประเทศไทย
และการน าของเสี ย จากต่างประเทศเข้ามารีไซเคิล ภายในประเทศ โดยคานึงถึงผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อม
และสุขภาพของชุมชน รวมทั้งทบทวนพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้สอดคล้องกับนโยบายโรงงานรีไซเคิล
ท้ายที่สุดแล้ว การศึกษาของคณะกรรมาธิการยังพบว่า ความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือข้อบท
ตามกรอบความตกลง CPTPP และอื่น ๆ เป็นสิ่งที่สาคัญต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน และประชาชน
ที่อาจได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้น การเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเข้าร่วม
เจรจาหรือเป็นภาคีในความตกลงใด ๆ ในอนาคตก็ตาม รัฐบาลต้องสร้างกลไกเพื่อให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
รับทราบ และปรับตัวเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามพันธกรณีได้อย่างครบถ้วน และสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่
ประชาชนเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในทุกภาคส่วนต่อไป
รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุม
และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
สภาผู้แทนราษฎร
------------------------------------------

ตามที่ ที่ ป ระชุ ม สภาผู้ แ ทนราษฎร ชุ ด ที่ ๒๕ ปี ที่ ๒ ครั้ งที่ ๓ (สมั ย สามั ญ ประจ าปี ค รั้ งที่ ห นึ่ ง )
เป็ น พิ เศษ วัน พุ ธ ที่ ๑๐ มิ ถุน ายน ๒๕๖๓ ที่ ป ระชุม ได้พิ จารณาญั ต ติ ด่ว น เรื่อง ขอให้ ส ภาผู้ แทนราษฎร
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบหากรัฐบาลจะอนุมัติลงนามในข้อตกลง CPTPP หรือ
ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้ นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and
Progressive Agreement of Trans-Pacific Partnership) (นายศุภชัย ใจสมุทร เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง
ขอให้ ส ภาผู้ แ ทนราษฎรตั้ งคณะกรรมาธิก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบจากการเข้ า ร่ว มข้ อ ตกลง
ที่ ค รอบคลุ ม และก้ าวหน้ า ส าหรั บ หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น แปซิ ฟิ ก (cptpp) (นายระวี มาศฉมาดล
เป็ น ผู้ เสนอ) ญั ตติ ด่ ว น เรื่ อง ขอให้ ส ภาผู้ แทนราษฎรตั้ งคณะกรรมาธิก ารวิส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาในเรื่อ ง
ความตกลงที่ ค รอบคลุ ม และก้ า วหน้ า เพื่ อ หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น แปซิ ฟิ ก (CPTPP) (นายวี ร ะกร
คาประกอบ กับคณะ เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา
ศึกษาประโยชน์ และผลกระทบจากการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วมข้อตกลงที่ครอบคลุ มและก้าวหน้าสาหรับ
หุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) (นายวรภพ วิริยะโรจน์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้
สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษากรณีการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและ
ก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement of
Trans - Pacific Partnership - CPTPP) (นายมนู ญ สิ ว าภิ ร มย์ รั ต น์ เป็ น ผู้ เสนอ) ญั ต ติ ด่ ว น เรื่ อ ง ขอให้
สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบต่อการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุม
และก้ าวหน้ า ส าหรั บ หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จภาคพื้ น แปซิฟิ ก (CPTPP) ของไทย (นางสาวจิราพร สิ น ธุไพร
เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาในเรื่องความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าเพื่อหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) (นายนริศ ขานุรักษ์ กับคณะ
เป็นผู้เสนอ) ญัตติด่วน เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาประโยชน์และ
ผลกระทบจากการที่ประเทศไทยจะเข้าร่วม CPTPP (นายวาโย อัศวรุ่งเรือง เป็นผู้เสนอ) และญัตติด่วน เรื่อง
ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบในเรื่องความตกลงที่ครอบคลุม
และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive Agreement
of Trans - Pacific Partnership : CPTPP) (นายจาตุ รงค์ เพ็ งนรพั ฒ น์ เป็ นผู้ เสนอ) และลงมติ ตั้ งกรรมาธิ การ
วิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับ
หุ้ น ส่ วนทางเศรษฐกิจ ภาคพื้น แปซิฟิ ก (CPTPP) ตามข้อบังคับ การประชุ มสภาผู้ แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒
ข้อ ๔๙ และข้อ ๕๐ โดยกาหนดระยะเวลาพิ จารณาศึกษาไว้ ๓๐ วัน ตั้งแต่วัน ที่ ๑๑ มิถุน ายน ๒๕๖๓ -
วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ต่อมาคณะกรรมาธิการได้ขอขยายระยะเวลาการพิจารณาศึกษา จานวน ๒ ครั้ง
ครั้งที่ ๑ จานวน ๖๐ วัน ตั้งแต่วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ - วันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ และครั้งที่ ๒ จานวน
๓๐ วัน ตั้งแต่วันที่ ๙ กันยายน ๒๕๖๓ - วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓ รวมระยะเวลาการพิจาณาศึกษา ๑๒๐ วัน นั้น
บัดนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ ค รอบคลุ ม และก้ า วหน้ า ส าหรั บ หุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิ จ ภาคพื้ น แปซิ ฟิ ก (CPTPP) เสร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว
ซึ่งปรากฏผล ดังนี้

๑. การดาเนินงาน
๑.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติเลือกตั้ง
(๑) นายวีระกร คาประกอบ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ
(๒) นายอนันต์ ศรีพันธุ์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
(๓) นายศุภชัย ใจสมุทร เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
(๔) นายเกียรติ สิทธีอมร เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม
(๕) นายระวี มาศฉมาดล เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
(๖) นายมนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ห้า
(๗) นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดารง เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๘) นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๙) นางสาวจิราพร สินธุไพร เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๐) นายทศพล ทังสุบุตร เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๑) นายไพศาล ดั่นคุ้ม เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๒) นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๓) นายวาโย อัศวรุ่งเรือง เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๑๔) นายเจเศรษฐ์ ไทยเศรษฐ์ เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๑๕) นางสาวนพวรรณ หัวใจมั่น เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๑๖) นางสาวอรพินทร์ เพชรทัต เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๑๗) นางสาวศรีนวล บุญลือ เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๑๘) นายจักรวี วิสุทธิผล เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๑๙) นายฐิตินันท์ แสงนาค เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๐) นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๑) นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๒) นายวรภพ วิริยะโรจน์ เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๓) นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล เป็นกรรมาธิการ
(๒๔) นายจักรพล ตั้งสุทธิธรรม เป็นกรรมาธิการ
(๒๕) รองศาสตราจารย์จิราพร ลิ้มปานานนท์ เป็นกรรมาธิการ
(๒๖) นายเชิดชาย ใช้ไววิทย์ เป็นกรรมาธิการ
(๒๗) นางสาวทิพานัน ศิริชนะ เป็นกรรมาธิการ
(๒๘) นายธกร เลาหพงศ์ชนะ เป็นกรรมาธิการ
(๒๙) นายธีระพงษ์ วัฒนวงษ์ภิญโญ เป็นกรรมาธิการ
(๓๐) นางนาที รัชกิจประการ เป็นกรรมาธิการ
(๓๑) นายนิกร จานง เป็นกรรมาธิการ
(๓๒) นายเนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ เป็นกรรมาธิการ
(๓๓) นายประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย เป็นกรรมาธิการ
(๓๔) นายปริญญ์ พานิชภักดิ์ เป็นกรรมาธิการ
(๓๕) นายปริญญา ฤกษ์หร่าย เป็นกรรมาธิการ
(๓๖) นายพิทักษ์ สันติวงษ์สกุล เป็นกรรมาธิการ

(๓๗) รองศาสตราจารย์รงค์ บุญสวยขวัญ เป็นกรรมาธิการ


(๓๘) นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท เป็นกรรมาธิการ
(๓๙) นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล เป็นกรรมาธิการ
(๔๐) นายวิจักร อากัปกริยา เป็นกรรมาธิการ
(๔๑) นายศุภกิจ ศิริลักษณ์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๒) นางสาวสกุณา สาระนันท์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๓) นายสมเกียรติ ศรลัมพ์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๔) นายสมบูรณ์ ซารัมย์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๕) นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๖) นายสุนทร รักษ์รงค์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๗) รองศาสตราจารย์สุรวิช วรรณไกรโรจน์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๘) นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร์ เป็นกรรมาธิการ
(๔๙) นายอันวาร์ สาและ เป็นกรรมาธิการ
อนึ่ง เมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นายวรภพ วิริยะโรจน์ ได้พ้นจากตาแหน่งกรรมาธิการ
วิส ามัญ เพราะเหตุล าออก และในคราวประชุมสภาผู้ แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๑๔ (สมัยสามัญ
ประจาปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ที่ประชุมเห็นชอบให้ตั้ง นางสาวทัศนีย์ วีระกันต์
เป็ น กรรมาธิการวิสามัญ ในคณะกรรมาธิการวิส ามัญ พิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) แทนตาแหน่งที่ว่าง
๑.๒ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติตั้งที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวิสามัญ คือ
(๑) นายจอมพจน์ ภู่รักศักดิ์ศรี
(๒) นายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
(๓) นายจารูญศักดิ์ จันทรมัย
(๔) นายเจริญ คัมภีรภาพ
(๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชล บุนนาค
(๖) พันเอก ชินรัชต์ รัตนจิตเกษม
(๗) นายณพวีร์ ตันติเสรี
(๘) นายเทิดพงษ์ หงษ์หิรัญเรือง
(๙) นายบัณฑูร วงศ์สีลโชติ
(๑๐) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประมวล สุธีจารุวัฒน
(๑๑) นางปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา
(๑๒) นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
(๑๓) นายพีรพัทธ์ วงศ์กมลพร
(๑๔) นางสาวรัชดา เจียสกุล
(๑๕) ผู้ช่วยศาสตราจารย์รุ่งเพ็ชร สกุลบารุงศิลป์
(๑๖) นางสาวรุจิเรข น้อยเสงี่ยม
(๑๗) นางสาววริศรียา บุญสม
(๑๘) นายวิฑูรย์ เลี่ยนจารูญ

(๑๙) นายวิทยา ศรีชมภู


(๒๐) นายวิมล ปั้นคง
(๒๑) นายสมเกียรติ ไตรสรณปัญญา
(๒๒) นายสฤษดิ์ ไพรทอง
(๒๓) นายสิสวัฒม์ ธรรมประดิษฐ์
(๒๔) นางสาวสุนีย์ วรวุฒางกูร
(๒๕) นายสุรชัย กาพลานนท์วัฒน์
(๒๖) ศาสตราจารย์อภิชาติ วรรณวิจิตร
(๒๗) นางอัญชนา วิทยาธรรมธัช
(๒๘) รองศาสตราจารย์อาชนัน เกาะไพบูลย์
๑.๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติแต่งตั้ง นางสาวนิธิยา ผาสุข นิติกรชานาญการพิเศษ
กลุ่ ม งานคณะกรรมาธิ ก ารการต่ า งประเทศ ส านั ก กรรมาธิ ก าร ๒ ปฏิ บั ติ ห น้ าที่ เป็ น ผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก าร
ในคณะกรรมาธิการ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสี่
๒. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น คือ
๒.๑ กระทรวงพาณิชย์
๒.๑.๑ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
(๑) นางสาวกนิษฐา กังสวนิช ผู้อานวยการสานักยุโรป
(๒) นางสาวจณัญญา บัณฑุกุล ผู้อานวยการสานักอเมริกา แปซิฟิก
และองค์การระหว่างประเทศ
(๓) นางสาวพริ้วแพร ชุมรุม ผู้อานวยการสานักเจรจาการค้าบริการ
และการลงทุน
(๔) นายสุรินทร สุนทรสนาน นักวิชาการพาณิชย์เชี่ยวชาญ
(๕) นางสาวแก้วตา พิสิษฐเกษม นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๖) นายจิรัตถ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๗) นายพรชัย ประภาวงษ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๘) นางสาวนุชจารี สมพงษ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๙) นายพัทธ์กมล ทัตติพงศ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๑๐) นางสาวกัลยา ลีวงศ์เจริญ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๑๑) นางสาวสุพรรษา สุทธิศิริกุล นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๑๒) นายปองวลัย พัวพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๑๓) นางสาวกฤตินี จักกาบาตร์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๔) นางสาวกุลนันทน์ บุญญเศรษฐ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๕) นางรมย์รวี จันทรเสน นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๖) นายคณพล วงศ์ใหญ่ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๗) นายขจรศักดิ์ คุปต์กาญจนากุล นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๘) นางสาวนาถวดี เครือรัตน์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๑๙) นายพชร แสงไชย นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ

(๒๐) นางสาวดุษณีญา อินทนุพัฒน์ นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ


(๒๑) นายธนภัทร วัชรางกูร นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๒) นางสาวชุวัลกร ศาสนบัญชากุล นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๓) นายพิชญญ์ โชติพันธุ์ นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๔) นายวรุตตม์ สุลีสถิร นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๕) นายอภิวิชย์ อนันตเสรี นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๖) นายอินทรรัตน์ เขื่อนรัตน์ นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๗) นายจิรพัชร จันทร์กล่า นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๒๘) นายวรเศรษฐ์ คูณทวีลาภผล นักวิชาการพาณิชย์
๒.๑.๒ กรมทรัพย์สินทางปัญญา
(๑) นายจักรา ยอดมณี ผู้อานวยการกองป้องปรามการละเมิด
ทรัพย์สินทางปัญญา
(๒) นายศิรพัทธ์ วัชราภัย รักษาการผู้อานวยการกองพัฒนา
ความร่วมมือทรัพย์สินทางปัญญา
(๓) นางนฐมณฑ์ แสงวราชัยลักษณ์ นักวิชาการตรวจสอบสิทธิบัตร
ชานาญการพิเศษ
(๔) นายสุดเขต บริบูรณ์ศรี นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๕) นางสาวบงกชมาศ หงษ์ทอง นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๖) นางรัชวรรณ จินดาวัฒน์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๗) นายพัฒนา สังข์กฤษ นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
๒.๑.๓ กรมการค้าต่างประเทศ
(๑) นายชุตินันท์ สิริยานนท์ รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ
(๒) นางชนินทร หริ่มเจริญ ผู้อานวยการกองสิทธิประโยชน์ทางการค้า
(๓) นางสาวปิยชาติ สอทิพย์ ผู้อานวยการกองสิทธิประโยชน์ทางการค้า
(๔) นางสาวสุภาวดี เชิดมณี นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๕) นางทิพย์วัลย์ ยามาโมโตะ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๖) นางสาวจันทร์นิภา บุญญเศรษฐ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๗) นางสาวพันธุ์สุดา จันทรโมลี นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๘) นางสาวกุณฑริกา เสพย์ธรรม นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๙) นางสาวธัญญาทิพย์ แสงสุวรรณ์ นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
(๑๐) นางสาววิลัยวรรณ โชยา นักวิชาการพาณิชย์ปฏิบัติการ
๒.๑.๔ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
(๑) นายสราวุฒิ คุ้มพันธ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๒) นางสาวพรรณทิพย์ ชื่นศิริพงษ์ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวสุชาดา เหล่าพูลสุข นิติกรชานาญการพิเศษ
๒.๑.๕ สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า
(๑) นายอัครพล ฮวบเจริญ ผู้อานวยการฝ่ายกิจการต่างประเทศ
(๒) นางสาววันวิสาข์ นาคปมุต นักองค์กรสัมพันธ์

(๓) นายพิริยพงศ์ ศรีบุญลือ นักการต่างประเทศ


(๔) นางสาวเนติมา ท้าวหมื่น เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการต่างประเทศ
๒.๑.๖ สานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า
(๑) นางสาวพิมพ์ชนก วอนขอพร ผู้อานวยการสานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์
การค้า
(๒) นางนุชพันธ์ กฤษณามระ ผู้อานวยการกองนโยบาย
การสร้างความเข้มแข็งทางการค้า
(๓) นางสาวปิญชาน์ เล่ห์มงคล นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๔) นายสุขปิติ มณีขาว นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
(๕) นางสาวณิชชาภัทร กาญจนอุมการ นักวิชาการพาณิชย์ชานาญการ
๒.๒ กระทรวงการต่างประเทศ
๒.๒.๑ กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย
(๑) นางวิลาวรรณ มังคละธนะกุล อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย
(๒) นายพืชภพ มงคลนาวิน ผู้อานวยการกองพัฒนางานกฎหมาย
ระหว่างประเทศ
(๓) นายวรพล เจนสวัสดิชัย นักการทูตชานาญการ
(๔) นางสาวกณวัณ ไวทยกิจกาจร นักการทูตปฏิบัติการ
๒.๒.๒ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(๑) นายปิยภักดิ์ ศรีเจริญ รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(๒) นางสาวปฤณัต อภิรัตน์ ผู้อานวยการกองนโยบายเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ
(๓) นางสุวรรณี อรุณสวัสดิ์วงศ์ นักการทูตชานาญการ
(๔) นางสาววิรัญญา ตินโนเวช นักการทูตปฏิบัติการ
๒.๓ กระทรวงสาธารณสุข
๒.๓.๑ กรมควบคุมโรค
(๑) นายนิพนธ์ ชินานนท์เวช ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการควบคุม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๒) นายชยนันท์ สิทธิบุศย์ ผู้อานวยการกองงานคณะกรรมการควบคุม
ผลิตภัณฑ์ยาสูบ
(๓) นายจิระวัฒน์ อยู่สะบาย ผู้ช่วยผู้อานวยการกองคณะกรรมการ
ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ
(๔) นายพงศ์ธร ชาติพิทักษ์ รองผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการ
ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๕) นางสาวกรรณิการ์ อินทรทัต นิติกร สานักงานคณะกรรมการควบคุม
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๖) นางสาวศศิภา เกตุกราย นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สานักงาน
คณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

๒.๓.๒ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
(๑) นางสาวเสาวภา จงกิตติพงศ์ ผู้อานวยการกองสุขภาพระหว่างประเทศ
(๒) นางสาวกิตติมา ศรีสุข นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
(๓) นายภักดี กลั่นภักดี หัวหน้ากลุ่มความร่วมมือสุขภาพ
ระหว่างประเทศ
(๔) นางสาวสุภานัน คงคา เจ้าหน้าที่ประสานงานต่างประเทศ
๒.๓.๓ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(๑) นางสาวอัญชลี จูฑะพุทธิ ที่ปรึกษากรมการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์ทางเลือก
(๒) นายนันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ผู้อานวยการกองคุ้มครองและส่งเสริม
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและ
แพทย์พื้นบ้านไทย
(๓) นายวรพจน์ ภู่จินดา ผู้อานวยการกลุ่มกฎหมายและจริยธรรม
(๔) นางสาวสุวิมล สุมนตรี แพทย์แผนไทย
(๕) นางสาวมณียา ปานนพฟา นักวิเคราะห์นโยบาย
(๖) นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ นักตรวจสอบสิทธิบัตร
๒.๓.๔ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
(๑) นายไพศาล ดั่นคุ้ม เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา
(๒) นางสิรินมาส คัชมาตย์ เภสัชกรชานาญการพิเศษ
กองควบคุมเครื่องมือแพทย์
(๓) นายวันชัย ศรีทองคา ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยของอาหาร
และการบริโภคอาหาร
(๔) นางสุภาวดี ธีระวัฒน์สกุล ผู้อานวยการกองควบคุมเครื่องสาอาง
และวัตถุอันตราย
(๕) นายวราวุธ เสริมสินสิริ ผู้อานวยการกองผลิตภัณฑ์สมุนไพร
(๖) หม่อมหลวงวรดนู ศรีรัตนสถาวร เภสัชกรชานาญการพิเศษ
(๗) นายฉัตรชัย พานิชศุภภรณ์ เภสัชกรชานาญการพิเศษ
(๘) นางสาวจิรารัตน์ เทศะศิลป์ นักวิชาการอาหารและยาชานาญการพิเศษ
(๙) นางสาวจารุณี อินทรสุข นักวิชาการอาหารและยาชานาญการ
(๑๐) นางสิตานันทร์ พูนผลทรัพย์ เภสัชกรชานาญการ
(๑๑) นางสาวพัทธ์ริศา ปกรณ์กัลย์ชัย เภสัชกรปฏิบัติการ
(๑๒) นายศรุต บุญเลิศ เภสัชกรปฏิบัติการ
๒.๓.๕ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางสาววรนัดดา ศรีสุพรรณ เภสัชกรชานาญการพิเศษ
กองบริหารการสาธารณสุข
๒.๓.๖ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
(๑) นายการุณย์ คุณติรานนท์ รองเลขาธิการสานักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ

(๒) นางสาวสมฤทัย สุพรรณกูล ผู้อานวยการสานักสนับสนุนระบบบริการยา


และเวชภัณฑ์
(๓) นางวิไลลักษณ์ วิสาสะ รักษาการผู้อานวยการสานักหลักประกัน
สุขภาพระหว่างประเทศ
(๔) นางนริศา มัณฑางกูร หัวหน้ากลุ่มงานสานักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ
๒.๓.๗ องค์การเภสัชกรรม
(๑) นายพิพัฒน์ นิยมการ รองผู้อานวยการองค์การเภสัชกรรม
(๒) นางศิริกุล เมธีวีรังสรรค์ รองผู้อานวยการองค์การเภสัชกรรม
(๓) นางประภัสสร สุรวัฒนาวรรณ รักษาการผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา
(๔) นายสุทัศน์ มีสารภี ผู้อานวยการกองกฎหมาย
(๕) นางเยาวลักษณ์ พุฒซ้อน รักษาการผู้อานวยการฝ่ายการตลาด
(๖) นางสาวลักษมีเพ็ญ สารชวนะกิจ ผู้ดูแลกลุ่มงานด้านศูนย์ข้อมูลสิทธิบัตรยา
สถาบันวิจัยและพัฒนา
(๗) นางสาวศิรินทร์ทิพย์ ขวัญเมือง นักการตลาด ๕ กลุ่มงานขายต่างประเทศ
(๘) นางสาวปิยนันท์ รัตนเพชร นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา
(๙) นางปิยพร พยัฆพรม นักวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา
๒.๓.๘ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
(๑) นางสาวผกากรอง ขวัญข้าว หัวหน้าศูนย์หลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร
(๒) นายชัยรัตน์ บุญนาค ผู้อานวยการกลุ่มกิจการอนุรักษ์
และการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
๒.๔ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
๒.๔.๑ กรมวิชาการเกษตร
(๑) นางสาวปรียานุช ทิพยะวัฒน์ ผู้อานวยการกองพัฒนาระบบและรับรอง
มาตรฐานสินค้าพืช
(๒) นางสาวธิดากุญ แสนอุดม ผู้อานวยการกลุ่มวิจัยการคุ้มครองพันธุ์พืช
สานักคุ้มครองพันธุ์พืช
(๓) นายป่าน ปานขาว นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ
สานักคุ้มครองพันธุ์พืช
(๔) นางสาวสิริปุณยากร สมแก้ว นิติกร สานักคุ้มครองพันธุ์พืช
๒.๔.๒ กรมส่งเสริมการเกษตร
(๑) นายเศรษฐพงศ์ เลขะวัฒนะ นักวิชาการเกษตรเชี่ยวชาญ ปฏิบัติหน้าที่
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านพัฒนาระบบการผลิต
สินค้าเกษตร
(๒) นางสุกัญญา ตู้แก้ว ผู้อานวยการกลุ่มผลิตและขยายพันธุ์พืช

๒.๔.๓ กรมการข้าว
(๑) นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง รองอธิบดีกรมการข้าว
(๒) นายชิษณุชา บุดดาบุญ ผู้อานวยการสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ข้าว
(๓) นายประสงค์ ทองพันธ์ ผู้อานวยการกองตรวจสอบรับรองมาตรฐานข้าว
และผลิตภัณฑ์
(๔) นางทัศนีย์วรรณ สุริยงหาญพงศ์ ผู้อานวยการสานักบริหารกลาง
(๕) นางสาวประสพสรรพ์ กมลยะบุตร ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
(๖) นางสาวเมตตา คชสาโรง ผู้อานวยการกลุ่มพัฒนาการขยายเมล็ดพันธุ์พืช
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว
(๗) นายอภิชาติ เนินพลับ ผู้เชี่ยวชาญด้านปรับปรุงพันธุ์ข้าว
(๘) นางอัญชลี ประเสริฐศักดิ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาการเมล็ดพันธุ์
และมาตรฐานพันธุ์
(๙) นางสาวปริญญา เชื้อชูชาติ นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ
(๑๐) นายรณชัย ช่างศรี นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ
(๑๑) นางสุกัญญา อรัญมิตร นักวิชาการเกษตรชานาญการพิเศษ
(๑๒) นางอุมา ประสิทธิ์วัฒนเสรี นักวิชาการเกษตรชานาญการ
(๑๓) นางกอบกาญจน์ เตชะฤทธิ์ นักวิชาการเผยแพร่ชานาญการ
๒.๔.๔ กรมปศุสัตว์
(๑) นายวัชรพล โชติยะปุตตะ ผู้อานวยการกองความร่วมมือ
ด้านการปศุสัตว์ระหว่างประเทศ
(๒) นางวรางคณา โตรส เศรษฐกรชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวเพลินพรรณ เขตต์กัน เศรษฐกรชานาญการ
(๔) นางสาวณัฐณิชา เพชรศรี นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
(๕) นายณภัทร ภัทรวัฒน์ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
๒.๔.๕ กรมประมง
(๑) นางสาวชมัยพร ชูงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจการประมง
(๒) นายประพันธ์ โนระดี หัวหน้ากลุ่มวิเคราะห์การค้าสินค้าประมง
ระหว่างประเทศ
(๓) นางกิ่งเดือน สมจิตต์ หัวหน้ากลุ่มตรวจประเมินระบบคุณภาพ
แหล่งแปรรูป
(๔) นายปิติชาติ ไชยเสนา เศรษฐกรปฏิบัติการ
๒.๔.๖ สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
(๑) นายครรชิต สุขเสถียร รองเลขาธิการสานักงานมาตรฐาน
สินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ
(๒) นายชนวัฒน์ สิทธิธูรณ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวรุจิเรข น้อยเสงี่ยม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
(๔) นายวรพงศ์ วิไลรัตน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
๑๐

๒.๔.๗ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
(๑) นางเบญจวรรณ ศิริโพธิ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
รักษาการในตาแหน่งผู้เชี่ยวชาญนโยบาย
เศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ
(๒) นายเอกราช ตรีลพ รักษาการผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจการผลิต
และการตลาด
(๓) นางหัทยา ทับสวัสดิ์ ผู้อานวยการส่วนบริหารกองทุนภาคการเกษตร
๒.๔.๘ การยางแห่งประเทศไทย
(๑) นายณกรณ์ ตรรกวิรพัท รองผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทยด้านธุรกิจ
และปฏิบัติการ ปฏิบัติการแทนผู้ว่าการการยาง
แห่งประเทศไทย
(๒) นายกฤษดา สังข์สิงห์ ผู้อานวยการสถาบันวิจัยยาง
(๓) นางสาวสุนันทิกา ปางจุติ หัวหน้ากองกิจการต่างประเทศ
(๔) นายณัฐชนน นพคุณขจร นักวิเทศสัมพันธ์
๒.๕ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๒.๕.๑ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๑) นางภาวินี ณ สายบุรี รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
(๒) นายจักรชัย ชุ่มจิตต์ ผู้อานวยการกองส่งเสริมและเผยแพร่
(๓) นายปัญญา วรเพชรยุทธ ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและฝึกอบรม
ด้านสิ่งแวดล้อม
๒.๕.๒ กรมควบคุมมลพิษ
(๑) นางสาวพรพิมล เจริญส่ง ผู้อานวยการกองจัดการกากของเสีย
และสารอันตราย
(๒) นางอาภาภรณ์ ศิริพรประสาร นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการพิเศษ
๒.๕.๓ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.)
(๑) นางสาวจิตตินันท์ เรืองวีรยุทธ ผู้อานวยการกองจัดการความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
(๒) นายภาณุวัตร กมุทชาติ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวชนากานต์ ต่างจิตร์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ
(๔) นางสาวญาณี แก้วประสิทธิ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ
(๕) นางสาวศศิธร ศรีสุรักษ์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ
๒.๕.๔ สานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
(๑) นางจุฬารัตน์ นิรัติศยกุล ผู้อานวยการสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจ
จากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
(๒) นายธนิต ชังถาวร รองผู้อานวยการสานักงานพัฒนาเศรษฐกิจ
จากฐานชีวภาพ
(๓) นายชัยรัตน์ บุนนาค ผู้อานวยการกลุ่มกิจการอนุรักษ์
และการประโยชน์อย่างยั่งยืน
๑๑

(๔) นางสาวรติกร น่วมภักดี เจ้าหน้าที่พัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ


(๕) นางสาวณิชา หระดี บริหารงานทั่วไป
๒.๖ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
๒.๖.๑ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
(๑) ศ.อภิชาติ วรรณวิจิตร ผู้อานวยการหน่วยปฏิบัติการค้นหาและ
ใช้ประโยชน์ยีนข้าว ศูนย์พันธุวิศวกรรมและ
เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
(๒) นายวรรณพ วิเศษสงวน ผู้อานวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและ
เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
(๓) นางสาวบุบผา เตชะภัทรพร นักวิจัยนโยบายอาวุโสฝ่ายศึกษานโยบายและ
ความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรม
และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
๒.๗ กระทรวงการคลัง
๒.๗.๑ กรมบัญชีกลาง
(๑) นางภัทรพร วรทรัพย์ รองอธิบดีกรมบัญชีกลาง
(๒) นางสาวณิติญาภรณ์ อิ่มใจ ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการจัดซื้อโดยรัฐ
ระหว่างประเทศ
(๓) นายธนะโชค รุ่งธิปานนท์ ผู้อานวยการกองระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
และราคากลาง
(๔) นางสาวทักษพร รักอยู่ นิติกรชานาญการพิเศษ
(๕) นายจักรพันธ์ คงคาประสิทธิ์ นักวิชาการคลังชานาญการ
(๖) นางสาวศันสนีย์ ธารเรวดี นักวิชาการคลังชานาญการ
(๗) นางสาวสุธาสินี ศรีมานะศักดิ์ นิติกรชานาญการ
(๘) นางสาวดารารัตน์ รัชดานุรักษ์ นักวิจัยนโยบาย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(๙) นางสาวสมฤทัย น้าทิพย์ ผู้ช่วยวิจัยนโยบาย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
๒.๗.๒ กรมสรรพากร
(๑) นางสาวฎาฎะนี วุฒิภดาดร ผู้อานวยการกองวิชาการแผนภาษี
(๒) นายมงคล ขนาดนิด ผู้อานวยการกองกฎหมาย
(๓) นางสาววีณา ลิ่มสวัสดิ์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาฐานภาษี
(๔) นางสาวเสาวคนธ์ มีแสง นักวิชาการภาษีเชี่ยวชาญ
(๕) นางสาวเพชรรัตน์ ศุภนิมิตรกุลกิจ นักตรวจสอบภาษีเชี่ยวชาญ
(๖) นางสาวอรนัฏ ยรรยงเมธ นิติกรชานาญการพิเศษ
(๗) นางสาวภัทรี ฉัตรเฉลิมเกียรติ นิติกรชานาญการ
(๘) นางสาวณิชาภัทร นาวาประดิษฐ์ นักวิชาการภาษีชานาญการ
(๙) นางสาวฐิตาพร ฐิตะสมบูรณ์ นักตรวจสอบภาษีชานาญการ
(๑๐) นางสาวสิรีธร ศุภางค์จรัส นักวิชาการภาษีปฏิบัติการ
๑๒

๒.๗.๓ กรมศุลกากร
(๑) นางรัดใจ ลีละวงศ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาระบบตรวจสอบ
การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
(๒) นางสาวบ่วงพรา จองสารทิศ ผู้เชี่ยวชาญกองสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร
(๓) นางนิภาวรรณ ใยบัวเทศ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคการตรวจสอบสินค้า
(สานักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ)
(๔) นายเอก สาตรวาหา ผู้อานวยการกองพิกัดอัตราศุลกากร
(๕) นายภาณุ ลิ้มวงศ์ยุติ ผู้อานวยการส่วนควบคุมทางศุลกากร
(สานักงานศุลกากรท่าเรือกรุงเทพ)
(๖) นายพริสร สุขประเสริฐ ผู้อานวยการส่วนมาตรฐานพิกัดอัตรา
(กองพิกัดอัตราศุลกากร)
(๗) นางวัชราพร เธียนชัยวัฒนา ผู้อานวยการส่วนโครงสร้างอัตราอากร
(๘) นางสาวสุภีร์ คงจินดา หัวหน้าฝ่ายอัตราอากรสิทธิพิเศษ ๑
(๙) นายอังกูร อังคะเจริญ หัวหน้าฝ่ายอัตราอากรสิทธิพิเศษ ๒
(๑๐) นางสาววรรณชุลี เอื้อกุศลสมบูรณ์ นักวิชาการศุลกากรชานาญการพิเศษ
(๑๑) นางกรุณา ปวนะฤทธิ์ นักวิชาการศุลกากรชานาญการ
(๑๒) นางสาวพุฒชาต วงศ์สุวานิช นักวิชาการศุลกากรชานาญการ
(๑๓) นางสาวจุฬาลักษณ์ ยุตธิ รรมสกุล นักวิชาการศุลกากรชานาญการ
(๑๔) นางสาวกนกอร ชวลิตชัยกุล นักวิชาการศุลกากรชานาญการ
(๑๕) นายพลสรร สายฟ้า นักวิชาการศุลกากรชานาญการ
(๑๖) นายชานนท์ แดงสีพล นักวิชาการศุลกากรปฏิบัติการ
(๑๗) นางสาวปรียาภา ร้อยกรแก้ว นักวิชาการศุลกากรปฏิบัติการ
(๑๘) นายทวิวุฒิ สุวรรณจรัส นักวิชาการศุลกากรปฏิบัติการ
(๑๙) นางสาวศุภาวรรณ วิไลวุฒิบัณฑิต นักวิชาการศุลกากร
๒.๗.๔ กรมสรรพสามิต
(๑) นางสาวประภาพริษฐ์ ช่าชอง นักวิชาการภาษีชานาญการพิเศษ
รักษาการผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านวิชาการภาษี
(๒) นายสุรเชษฐ์ แก่นชา นักวิชาการภาษีชานาญการ
(๓) นางสาวสรัลพัชร คล่องดี นักวิชาการภาษีปฏิบัติการ

๒.๗.๕ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง
(๑) นางนวพร วิริยานุพงศ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการเงินการคลัง
ระหว่างประเทศ
(๒) นางสาวเกตสุดา สุประดิษฐ์ ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(๓) นางสาวประภาภรณ์ ชุณหชัชราชัย ผู้อานวยการส่วนนโยบายเศรษฐกิจการเงิน
ระหว่างประเทศ
(๔) นางสาวศิริตลา แสงด้วง ผู้อานวยการส่วนนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
ระหว่างประเทศ
๑๓

(๕) นายเดชชัย กุลวงศ์ เศรษฐกรชานาญการ


(๖) นายศุภชาติ คล่องเชิงสาร เศรษฐกรปฏิบัติการ
(๗) นางสาวชุติกาญจน์ สลิลปราโมทย์ เศรษฐกรปฏิบัติการ
๒.๗.๖ สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.)
(๑) นางสาวปิยวรรณ ล่ามกิจจา ที่ปรึกษาด้านพัฒนารัฐวิสาหกิจ
(๒) นายพลจักร นิ่มวัฒนา ผู้อานวยการสานักนโยบาย
และแผนรัฐวิสาหกิจ
(๓) นางสาวณัฐนิภา เหลืองสมบูรณ์ นักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจชานาญการพิเศษ
(๔) นางสาวสุนิดา สุสันทัด นักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจชานาญการพิเศษ
(๕) นายชยสิทธิ์ จิตรามวงศ์ นักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจชานาญการ
(๖) นางสุวรรณา อภัยบัณฑิตกุล นักวิเคราะห์รัฐวิสาหกิจปฏิบัติการ
๒.๘ กระทรวงอุตสาหกรรม
๒.๘.๑ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
(๑) นายกัมปนาท รุ่งเรืองชัยศรี ผู้อานวยการกองบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
(๒) นายพิศิษฐ รัตนธนาฤกษ์ นักวิทยาศาสตร์ชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวนัชพรนภัส สินธุสิทธิ์ วิศวกรปฏิบัติการ
(๔) นางสาวสุคนธ์ เอี่ยมอนันต์ นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
๒.๘.๒ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
(๑) นายไชยวัฒน์ ตั้งเกริกโอฬาร ผู้อานวยการกองบริหารมาตรฐาน
ระหว่างประเทศ
(๒) นางสาวอาภัสสร สุกใส ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการมาตรฐาน
ระหว่างประเทศ
(๓) นายณฤทธิ์ ฤกษ์ม่วง นักวิชาการมาตรฐานชานาญการพิเศษ
(๔) นางสาวณิชาภัทร พุ่มเข็ม นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ
(๕) นางสาวสกาวรัตน์ เต็มรัตน์ นักวิชาการมาตรฐานปฏิบัติการ
๒.๘.๓ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.)
(๑) นางปนัดดา เย็นตระกูล ผู้อานวยการฝ่ายบริการผู้ประกอบการ
(๒) นางสาวนันทนา สถาพรนานนท์ นักบริการการลงทุน
๒.๙ กระทรวงแรงงาน
๒.๙.๑ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
(๑) นางโสภา เกียรตินิรชา รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
(๒) นายอนุสิษฐ์ อุ่นทิม ผู้อานวยการกลุ่มงานพัฒนากฎหมาย
(๓) นายทิศชัย หงษ์ศิรินทนาถ สานักแรงงานสัมพันธ์
(๔) นางสาวจันทรพร วิสุทธิกันต์ สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
(๕) นางสาววิสมล วุธรา สานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
๑๔

๒.๑๐ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
๒.๑๐.๑ สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(๑) นางสาวอัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(๒) นายภูเวียง ประคามินทร์ รองปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(๓) นางปิยนุช วุฒิสอน ผู้ตรวจราชการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม
(๔) นางสาวทศวรรณ เสมอวงษ์ นักวิเทศสัมพันธ์ชานาญการพิเศษ
กองการต่างประเทศ
(๕) นางสาวภาริน หงส์บุตร นักวิเทศสัมพันธ์ชานาญการพิเศษ
(๖) นางสาวสายชล แซ่ลี้ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการพิเศษ
(๗) นายจรัญ เหลาทอง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการ
กองป้องกันและปราบปรามการกระทาผิด
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๘) นางสาวแสงกล้า อุทัยรัตนกิจ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
๒.๑๐.๒ สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.)
(๑) นายชัยชนะ มิตรพันธ์ รองผู้อานวยการสานักงานพัฒนาธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์
(๒) นายมีธรรม ณ ระนอง รักษาการผู้ช่วยผู้อานวยการสานักงาน
พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(๓) นายธงชัย แสงศิริ ผู้ชานาญการ สานักยุทธศาสตร์
(๔) นายพงษ์พันธ์ ศรีปาน เจ้าหน้าที่กฎหมาย
๒.๑๑ สานักนายกรัฐมนตรี
๒.๑๑.๑ สานักงบประมาณ
(๑) หม่อมราชวงศ์รณจักร์ จักรพันธุ์ รองผู้อานวยการสานักงบประมาณ
(๒) นายอดิศร กิจขยัน นักวิเคราะห์งบประมาณเชี่ยวชาญ
(๓) นายประโมทย์ สมาธิ นักวิเคราะห์งบประมาณชานาญการพิเศษ
๒.๑๑.๒ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(๑) นายวิโรจน์ นรารักษ์ รองเลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
(๒) นางสาวจิตราภรณ์ เมฆกระจ่าง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวรัฐสภา ทรัพย์เมือง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
๒.๑๑.๓ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ)
(๑) นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุน
(๒) นางสาวฐนิตา ศิริทรัพย์ ผู้อานวยการกองความร่วมมือ
การลงทุนต่างประเทศ
(๓) นายชาตรี ลิ้มผ่องใส ผู้อานวยการกองบริหารการลงทุน ๒
(๔) นางสาวสิริพร นาคเจือ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการพิเศษ
๑๕

(๕) นายอิทธิโชติ ดารงรักษ์ธรรม นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนชานาญการพิเศษ


(๖) นางสาวฐิติกา บุญเจริญ นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ
(๗) นายวัชรสาร ฐิติโสดี นักวิชาการส่งเสริมการลงทุนปฏิบัติการ
๒.๑๑.๔ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
(๑) นายณัชภัทร ขาวแก้ว นักสืบสวนสอบสวนชานาญการพิเศษ
(๒) นายมาณพ พิเศษกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
๒.๑๒ กระทรวงยุติธรรม
๒.๑๒.๑ สานักงานอัยการสูงสุด
(๑) นายไพรัช พรสมบูรณ์ศิริ รองอธิบดีอัยการ
(๒) นายสกุลยุช หอพิบูลสุข อัยการผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
(๓) นางสาวทชดา อจละนันท์ อัยการประจาสานักงานอัยการสูงสุด
(๔) นายวีรเดชน์ ไตรทศาวิทย์ อัยการประจาสานักงานอัยการสูงสุด
(๕) นางสาวปวีณา เอี่ยมศิริกุลมิตร อัยการประจาสานักงานอัยการสูงสุด
(๖) นายตุลยวัต โฆษิตวัฒนฤกษ์ อัยการจังหวัดผู้ช่วย
๒.๑๓ สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
แห่งชาติ (กสทช.)
(๑) นายประวิทย์ ลี่สถาพรวงศา กรรมการ กสทช.
(๒) นายนทชาติ จินตกานนท์ ผู้อานวยการสานักการต่างประเทศ
(๓) นางสาวสมจิตต์ สาสนรักกิจ ผู้อานวยการส่วนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ
(๔) นางสุปิยา ประสานเสียง ผู้อานวยการส่วนสายงานยุทธศาสตร์และ
กิจการองค์กร
(๕) นางสาวราไพภัค ปิ่นสวย นักวิชาการนโยบายและแผนปฏิบัติการ
(๖) นางสาวศุภัสรา ชัยพิพัฒน์ นักวิชาการนโยบายและแผนระดับต้น
(๗) นายฉัตรบดี ฉัตรภูติ นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการระดับต้น
๒.๑๔ สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
(๑) นางวรัชญา ศรีมาจันทร์ รองเลขาธิการ
(๒) นางสาวพราวพร เสนาณรงค์ ผู้ช่วยเลขาธิการ
(๓) นางสาวจุฬาวดี วรศักดิ์โยธิน ผู้อานวยการฝ่ายยุทธศาสตร์
และการต่างประเทศ
(๔) นางสาวเพ็ญพิชชา พัทธรัตน์ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายยุทธศาสตร์
และการต่างประเทศ
(๕) นายธวัชพงศ์ เกตานิรุจน์ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายกฎหมาย ๓
(๖) นายวิสุทธิ์ ตรังคสมบัติ เจ้าหน้าที่บริหารอาวุโสฝ่ายกฎหมาย ๓
(๗) นายวศิน สีดอกบวบ เจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายยุทธศาสตร์
และการต่างประเทศ
๑๖

๒.๑๕ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)


(๑) นายรังสรรค์ มั่นคง ผู้เชี่ยวชาญด้านวิเทศสัมพันธ์
(๒) นางสุพัตรา พันธุ์อานวย นักบริหารแผนงานชานาญการ
(๓) นายไพศาล ลิ้มสถิตย์ กรรมการสถาบันส่งเสริมสุขภาพไทย
ในฐานะภาคี สสส.
(๔) นายวศิน พิพัฒนฉัตร ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์วิจัยและจัดการ
ความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
(๕) นางสาวณิญาดา อิ่มเพชร นักบริหารแผนงานชานาญการ
สานักสนับสนุนการควบคุมปัจจัยเสี่ยงหลัก
(๖) นางสาวจินตนา ปีสิงห์ นักวิเคราะห์บริหารโครงการ
(๗) นายคารณ ชูเดชา ผู้ประสานงานเครือข่ายเฝ้าระวังธุรกิจสุรา
(๘) นายนิทัศน์ ศิริโชติรัตน์ อาจารย์ประจาภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
๒.๑๖ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
(๑) นายไพโรจน์ บุญศิริคาชัย รองเลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
(๒) นางสาวอุรา สุวรรณรักษ์ รองผู้อานวยการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
๒.๑๗ ธนาคารแห่งประเทศไทย
(๑) นางจันทวรรณ สุจริตกุล ผู้ช่วยผู้ว่าการสายสื่อสารและความสัมพันธ์องค์กร
(๒) นางสาวดารณี แซ่จู ผู้อานวยการอาวุโสฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
(๓) นางจิตตาภา ประจวบเหมาะ รองผู้อานวยการฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
(๔) นางสาววริษฐา ประจงการ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค
(๕) นางสาวไพลิน พลหาญ ผู้ช่วยผู้อานวยการฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
(๖) นางสาววรรณโศภิน อมาตยกุล เศรษฐกรอาวุโสฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
(๗) นางสาวนภนาง เอกอัคร เศรษฐกรอาวุโสฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
(๘) นางสาวเกศยา กมลสุขยืนยง นิติกรอาวุโส ฝ่ายกฎหมาย
๒.๑๘ คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ (กนป.)
- นายอธิราษฎร์ ดาดี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการ
นโยบายปาล์มน้ามันแห่งชาติ
๒.๑๙ องค์กรวิชาชีพ
๒.๑๙.๑ ทันตแพทยสภา
พ.ต.ท.พจนารถ พุ่มประกอบศรี นายกทันตแพทยสภา
๒.๑๙.๒ แพทยสภา
(๑) นายไพบูลย์ เอกแสงศรี ผู้แทนแพทยสภา
(๒) นายพชร ศรีปน นิติกร
๒.๑๙.๓ สภากายภาพบาบัด
- นายวรชาติ เฉิดชมจันทร์ อุปนายกสภากายภาพบาบัด
๑๗

๒.๑๙.๔ สภาการพยาบาล
(๑) รศ.สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ ที่ปรึกษาประจาสภาการพยาบาล
ฝ่ายวิชาการและโครงการเฉพาะกิจ
(๒) นางสาวนฤมล ภัทรพานิชชัย นักวิชาการวิชาชีพการพยาบาลประจา
สานักงานเลขาธิการสภาการพยาบาล
๒.๑๙.๕ สภาเทคนิคการแพทย์
- นายสมชัย เจิดเสริมอนันต์ นายกสภาเทคนิคการแพทย์
๒.๑๙.๖ สัตวแพทยสภาแห่งประเทศไทย
(๑) ผศ.ธวัชชัย ศักดิ์ภู่อร่าม นายกสัตวแพทยสภาแห่งประเทศไทย
(๒) นายจีระ สรนุวัตร หัวหน้าสานักงานสัตวแพทยสภา
แห่งประเทศไทย
๒.๒๐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
๒.๒๐.๑ คณะกรรมการร่วมภาคเอกชน ๓ สถาบัน (กกร.)
(๑) นายชูศักดิ์ ชื่นประโยชน์ รองประธานกรรมการหอการค้าไทย
(๒) นางพิมพ์ใจ ลี้อิสสระนุกูล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๓) นายวีรศักดิ์ โฆสิตไพศาล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๔) นายมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๕) นายศักดิ์ชัย อุ่นจิตติกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๖) นายกอบศักดิ์ ดวงดี เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย
(๗) นายสุธีร์ สธนสถาพร ผู้อานวยการ กกร.
(๘) นายดรุษกร วิสุทธิสิน ผู้ช่วยเลขาธิการสมาคมธนาคารไทย
(๙) นางสาวเพ็ญจันทร์ มานะวนิชกุล ผู้อานวยการฝ่ายต่างประเทศ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๑๐) นางสาวลัดดาวัลย์ ราชุรัชต ผู้อานวยการสถาบันอุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร
(๑๑) นางสาวชลยา กุมาลย์วิสัย รองผู้อานวยการสมาคมธนาคารไทย
(๑๒) นายภูริสิทธิ์ แจ้งศิริพันธ์ ผู้ช่วยผู้อานวยการบริหารสภาหอการค้า
แห่งประเทศไทย
(๑๓) นายบันลือศักดิ์ ปุสสะรังสี กรรมการคณะเจรจาความตกลงการค้า
ระหว่างประเทศ
(๑๔) นายทวีลาภ ฤทธาภิรมย์ กรรมการผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่
ธนาคารกรุงเทพฯ
(๑๕) นางเพ็ญนภา โหสกุล ประธานสมาคมผู้ผลิตสีไทย
(๑๖) นายณรงค์ศักดิ์ อินต๊ะไชยวงศ์ ผู้ชานาญการฝ่ายผลิตภัณฑ์
และช่องทางบริการ ธนาคารกรุงเทพฯ
(๑๗) นางสาวศรัณยา ประไพพงษ์ เจ้าหน้าที่อาวุโสฝ่ายต่างประเทศ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
(๑๘) นายณัฐนัย กู้ประเสริฐ เจ้าหน้าที่ธนาคารกรุงเทพฯ
(๑๙) นางสาวธัญญาพร ผดุงการ เจ้าหน้าทีบ่ ริหาร
๑๘

(๒๐) นางสาวศุภนุช ทองใบ เจ้าหน้าที่สมาคมธนาคารไทย


(๒๑) นางสาวขวัญหทัย ธนทรัพย์วงศ์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายส่งเสริมการค้าและการลงทุน
(๒๒) นายณัฐสัณห์ ลีละบุตร เจ้าหน้าที่ต่างประเทศ กกร.
๒.๒๐.๒ สานักงานคณะกรรมการองค์การอิสระเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคภาคประชาชน
(คอบช.)
- นางสาวบุญยืน ศิริธรรม ประธานสหพันธ์องค์กรผู้บริโภค
๒.๒๐.๓ สภาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สทท.)
- นายชัยรัตน์ ไตรรัตนจรัสพร ประธาน สทท.
๒.๒๐.๔ สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.)
(๑) นายวิศิษฐ์ ลิ้มลือชา รองประธาน สรท.
(๒) นายคงฤทธิ์ จันทริก ผู้อานวยการบริหาร สรท.
(๓) นายภัคธร เนียมแสง ผู้ช่วยผู้จัดการ สรท.
(๔) นางสาวจิรภา บุญนาสุข นักวิเคราะห์อาวุโส
๒.๒๐.๕ สหพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจแห่งประเทศไทย (สพร.ท.)
(๑) นางสาวอัปสร กฤษณะสมิต ประธาน สพร.ท.
(๒) นายไพฑูรย์ ตุลาพงศ์ เลขาธิการ สพร.ท.
๒.๒๐.๖ สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (สรท.)
- นายพงศ์ฐิติ พงศ์ศิลามณี ประธานสหภาพ สรท.
๒.๒๐.๗ สมาพันธ์ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย
(๑) นายสุวิทย์ รัตนจินดา ประธานสมาพันธ์ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย
(๒) นายวิฑูรย์ สันติบุญญรัตน์ เลขาธิการสมาพันธ์ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย
(๓) นายสมชาย บรรลือเสนาะ ประชาสัมพันธ์สมาพันธ์ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทย
๒.๒๐.๘ สมาคมชาวนาและเกษตรกรไทย
(๑) นายสาธุ อนุโมทามิ
(๒) นายเดชา นุตาลัย
๒.๒๐.๙ สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย
(๑) นายวิชา ฐิติประเสริฐ ที่ปรึกษาสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย
(๒) นายสุนทร พิพิธแสงจันทร์ ที่ปรึกษาสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย
๒.๒๐.๑๐ สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย
- นางสาวบุญญานาถ นาถวงษ์ กรรมการและประชาสัมพันธ์
๒.๒๐.๑๑ สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย
(๑) นายชัยฤกษ์ สงวนทรัพยากร นายกสมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย
(๒) นางสาวบุญญานาถ นาถวงษ์ อุปนายกสมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย
(๓) นายไตรทิพย์ อยู่สิทธิ
๒.๒๐.๑๒ สมาคมเมล็ดพันธุ์พืชภาคพื้นเอเซียและแปซิฟิก
(๑) นางสาวกนกวรรณ ชดเชย ผู้อานวยการสมาคมเมล็ดพันธุ์พืช
ภาคพื้นเอเชียและแปซิฟิก
(๒) นายวิชัย เหล่าเจริญพรกุล
๑๙

๒.๒๐.๑๓ สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ
- นายนิพัฒน์ เนื้อนิ่ม อุปนายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ
๒.๒๐.๑๔ สมาคมการประมงแห่งประเทศไทย
- นายพิชัย แซ่ซิ้ม เลขาธิการสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย
๒.๒๐.๑๕ สมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
(๑) นายพิเชษฐ์ กรุดลอยมา นายกสมาคมปรับปรุงพันธุ์
และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
(๒) ผศ.ปิยะ กิตติภาดากุล อุปนายกสมาคม
๒.๒๐.๑๖ สมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ์
(๑) นายทวิราป ตันติวงษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร
(๒) นายนิรุตติ คุณวัฒน์ ผู้อานวยการอาวุโสด้านนโยบายสาธารณะ
และกิจการรัฐ
๒.๒๐.๑๗ สมาคมไทยอุตสาหกรรมผลิตยาแผนปัจจุบัน
(๑) นางลลนา เสตสุบรรณ นายกสมาคม
(๒) นายทัฬห ปึงเจริญกุล ที่ปรึกษา
(๓) นายพีรชา ธนวัฒนาวนิช ที่ปรึกษาด้านวิจัยและพัฒนา
๒.๒๐.๑๘ สมาคมผู้ผลิตยาสมุนไพร
- นายเมธา สิมะวรา นายกสมาคมผู้ผลิตยาสมุนไพร
๒.๒๐.๑๙ สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย
(๑) นายบุญศักดิ์ เกียรติจรูญเลิศ นายกสมาคม
(๒) นายเชิดศักดิ์ วิทราภรณ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
(๓) นายณัษฐา ประโมจนีย์ อุปนายกสมาคม
๒.๒๐.๒๐ สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
(๑) นายอังสุรัสมิ์ อารีกุล นายกสมาคม
(๒) นายธนัท เวสารัชชานนท์ เลขาธิการสมาคม
(๓) นายปิยะดิษฐ์ อัศวศิริสุข กรรมการบริหารสมาคม
๒.๒๐.๒๑ สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย
- นายสุพจน์ เจียมจรัสรังสี เลขาธิการสมาคม
๒.๒๐.๒๒ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
- นางสาวสารี อ๋องสมหวัง เลขาธิการมูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
๒.๒๐.๒๓ มูลนิธิสุขภาพไทย
- นายวีรพงษ์ เกรียงสินยศ กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิสุขภาพไทย
๒.๒๐.๒๔ มูลนิธิบูรณะนิเวศ
(๑) นางสาวเพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อานวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ
(๒) นางดาวัลย์ จันทรหัสดี เจ้าหน้าที่มูลนิธิบูรณะนิเวศ
๒.๒๐.๒๕ กลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม
(๑) นางกนิษฐ เมืองกระจ่าง ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
๒๐

(๒) นางสาววรพรรณ ลิ้มตระกูล อุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้า


อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
(๓) นางสาวภาวนา สุริยพฤกษ์ ผู้จัดการสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม
๒.๒๐.๒๖ เครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือกภาคใต้
- นายการาบ พานทอง ผู้ประสานงานเครือข่ายเกษตรกรรม
ทางเลือกภาคใต้
๒.๒๐.๒๗ เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ
- นายอดิศร เกิดมงคล ผู้จัดการเครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ
๒.๒๐.๒๘ เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer)
- นายมานพ แก้วโกย
๒.๒๐.๒๙ เกษตรกรผู้ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
(๑) นายวิชา โกมลกิจเกษตร เลขาธิการสมาพันธ์ไม้ดอกไม้ประดับแห่ง
ประเทศไทย
(๒) นายชุมพล พรหมประทานพร เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้
(๓) นายนิพนธ์ ชัยวงศ์รุ่งเรือง เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้
(๔) นายกิตติคุณ พรหมพิทักษ์ เกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศ
(๕) นายกวี ชิตกร เกษตรกรผู้พัฒนาพันธุ์และจาหน่ายเมล็ด
พันธุ์ดาวเรือง
(๖) นายณัฐวุฒิ มุราษี เกษตรกรผู้พัฒนาพันธุ์และจาหน่ายเมล็ด
พันธุ์ดาวเรือง
๒.๒๐.๓๐ เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก
- นายพงษ์พัฒน์ แก้วพะเนาว์ เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก
๒.๒๐.๓๑ เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพร
- นางเครือวัลย์ ก้านลาไย เกษตรกรผู้ปลูกพืชสมุนไพร
๒.๒๑ บุคคลและนักวิชาการ
(๑) ผศ.ปวริศร เลิศธรรมเทวี อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคาแหง
(๒) ผศ.ชล บุนนาค อาจารย์ประจาคณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(๓) นายอะคิระ ทีระคะวา ผู้ช่วยทูตผ่ายพาณิชย์
สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจาประเทศไทย
(๔) รศ.นุศราพร เกษสมบูรณ์ อาจารย์ประจาคณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๑

๓. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
คณะกรรมาธิ ก ารได้ มี ก ารพิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบจากการเข้ าร่ วมความตกลงที่ ครอบคลุ ม
และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ซึ่งสรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้
๓.๑ คณะกรรมาธิการได้ประชุมพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุม
และก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) จานวน ๒๐ ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ ๑ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๒ วันจันทร์ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๓ วันพุธที่ ๑๗ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๔ วันอังคารที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๕ วันพุธที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๖ วันอังคารที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๗ วันพุธที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๘ วันพฤหัสบดีที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๙ วันอังคารที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๐ วันพุธที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๑ วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๒ วันพุธที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๓ วันพุธที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๔ วันพฤหัสบดีที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๕ วันพุธที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๖ วันพุธที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๗ วันพุธที่ ๒ กันยายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๘ วันพุธที่ ๒๓ กันยายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑๙ วันอังคารที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๒๐ วันพุธที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๖๓
๓.๒ คณะกรรมาธิการได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมาธิการ จานวน ๓ คณะ เพื่อทาหน้าที่ศึกษาข้อมูล
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ และผลกระทบในด้านต่าง ๆ หากประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุ มและก้าวหน้ าสาหรับ หุ้ น ส่ วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) พร้อมทั้งจัดทาข้อสังเกต
และข้ อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งดั งกล่ าว แล้ ว รายงานคณะกรรมาธิก ารเพื่ อ พิ จ ารณา ทั้ งนี้ ตามข้ อ บั งคั บ
การประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๖ ดังนี้
(๑) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช ซึ่งอนุกรรมาธิการคณะนี้
ประกอบด้วย
๑) นายอนันต์ ศรีพันธุ์ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ
๒) นายนิกร จานง รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
๓) นายสมบูรณ์ ซารัมย์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง
๔) นายวรภพ วิริยะโรจน์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สาม
๕) นางสาวสกุณา สาระนันท์ เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ
๒๒

๖) นายเลิศศักดิ์ พัฒนชัยกุล โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ


๗) นายสุนทร รักษ์รงค์ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ
๘) นายปริญญา ฤกษ์หร่าย อนุกรรมาธิการ
๙) นายเพชรภูมิ อาภรณ์รัตน์ อนุกรรมาธิการ
๑๐) รองศาสตราจารย์สุรวิช วรรณไกรโรจน์ อนุกรรมาธิการ
(๒) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข ซึ่งอนุกรรมาธิการคณะนี้
ประกอบด้วย
๑) นายศุภชัย ใจสมุทร ประธานคณะอนุกรรมาธิการ
๒) นางนาที รัชกิจประการ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
๓) รองศาสตราจารย์จิราพร ลิ้มปานานนท์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง
๔) นายศุภกิจ ศิริลักษณ์ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สาม
๕) นายวาโย อัศวรุ่งเรือง เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ
๖) นางสาวศรีนวล บุญลือ ผู้ช่วยเลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
๗) นายปริญญ์ พานิชภักดิ์ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ
๘) นายทศพล ทังสุบุตร อนุกรรมาธิการ
๙) นายธีระพงษ์ วัฒนวงษ์ภิญโญ อนุกรรมาธิการ
๑๐) นายไพศาล ดั่นคุ้ม อนุกรรมาธิการ
(๓) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน ซึ่งอนุกรรมาธิการคณะนี้
ประกอบด้วย
๑) นายเกียรติ สิทธีอมร ประธานคณะอนุกรรมาธิการ
๒) นายฐิตินันท์ แสงนาค รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
๓) นางสาวจิราพร สินธุไพร รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่สอง
๔) นางอรมน ทรัพย์ทวีธรรม เลขานุการคณะอนุกรรมาธิการ
๕) นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ โฆษกคณะอนุกรรมาธิการ
๖) นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ อนุกรรมาธิการ
๗) นายจิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ อนุกรรมาธิการ
๘) นายเชิดชาย ใช้ไววิทย์ อนุกรรมาธิการ
๙) นางสาวกรรณิการ์ กิจติเวชกุล อนุกรรมาธิการ
๑๐) นางสาวอรพินทร์ เพชรทัต อนุกรรมาธิการ
๓.๓ คณะกรรมาธิการได้พิจารณาศึกษาข้อเท็จจริงและรายละเอียดข้ อมูลเรื่องนี้จากเอกสาร
ข้อมูล คาชี้แจงจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้เชิญมาร่วมประชุมกับคณะกรรมาธิการ เพื่อให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง
ตลอดจนชี้แจงแสดงความคิดเห็น รวมทั้ งรายละเอียดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยนามาประกอบการพิจารณา
ศึกษาข้อเท็จจริงของคณะกรรมาธิการ
๓.๔ คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารได้ ป ระชุ ม พิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบจากการเข้ าร่ ว มความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช ได้ประชุมพิจารณา
ศึกษาเกี่ยวกับประเด็นผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืชจากการเข้าร่วมความตกลง CPTPP และผลกระทบ
๒๓

จากการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV 1991) โดยศึกษาข้อบท


ของความตกลง CPTPP และอนุสัญญา UPOV 1991 ซึ่งคณะอนุกรรมาธิการได้พิจารณาประเด็นที่มีข้อสงสัย
ในการตีความข้อบทของอนุสัญญา UPOV 1991 และสอบถามไปยังสานักเลขาธิการสหภาพ UPOV เพื่อขอ
ความชัดเจนและนามาใช้ประกอบการพิจารณาศึกษา ตลอดจนพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศไทย
ซึ่งได้ เชิ ญ นั ก วิ ช าการ หน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง สมาคม และกลุ่ ม เกษตรกร มาเข้ าร่ว มประชุ ม เพื่ อ ให้ ข้ อ มู ล
ข้อเท็จจริง ตลอดจนชี้แจงแสดงความคิดเห็น จานวน ๑๕ ครั้ง
๒) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข ได้ประชุมพิจารณา
ศึกษาโดยกาหนดกรอบแนวทางการศึกษาออกเป็น ๒ ส่วน คือ การพิจารณาจากข้อบทต่าง ๆ ในความตกลง
CPTPP และการพิจารณาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุขที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต จากเอกสาร ข้อมูล
คาชี้แจงจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งรายละเอียดจากแหล่ งข้อมูลต่าง ๆ รวม ๑๑ เรื่อง ได้แก่ (๑) ยา
(รวมวั ค ซี น และชี ว วั ต ถุ ) (๒) สมุ น ไพร (๓) เครื่ อ งมื อ แพทย์ (๔) อาหาร (๕) เครื่ อ งส าอาง (๖) ยาสู บ
(๗) เครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ (๘) บทว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองการลงทุ น (Investment protection) และกลไก
การระงั บ ข้ อ พิ พ าทระหว่ า งรั ฐ กั บ เอกชน (Investor-State Dispute Settlement : ISDS) (๙) การบริ ก าร
สาธารณสุ ข (๑๐) การก้ า วสู่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางสุ ข ภาพนานาชาติ (Medical Hub) ของประเทศไทย
และ (๑๑) ข้อบทที่ถูกระงับไว้ (Suspended provisions) ตลอดจนประเด็นย่อยในเรื่องยา (รวมวัคซีน และชีววัตถุ)
อีก ๔ ประเด็ น คื อ (๑) การรั บ ฝากจุ ลชี พ (๒) การเชื่อมโยงสิ ทธิบั ตรกั บการขึ้ นทะเบี ยนต ารับ ยา (Patent
Linkage) (๓) การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Government Procurement) ที่เกี่ยวกับสาธารณสุข และ (๔) การบังคับ
ใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา (Compulsory Licensing : CL) โดยเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมประชุมเพื่อให้
ข้อมูล ข้อเท็จจริง ตลอดจนชี้แจงแสดงความคิดเห็น จานวน ๑๒ ครั้ง
๓) คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน ได้ประชุม
พิจารณาศึกษาโอกาสและผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน จากข้อมูล ข้อเท็จจริง เอกสาร
หลักฐาน ตลอดจนคาชี้แจงและความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่เข้าร่วมประชุมในประเด็นสาคัญต่าง ๆ
รวม ๑๑ ประเด็น ได้แก่ (๑) ภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID (๒) การค้าสิ นค้า กฎถิ่นกาเนิ ด
สิ น ค้ าและประเด็น Free Zone (๓) การค้ าบริก าร การลงทุ น และการเข้ าเมื อ งชั่ ว คราวส าหรับ นั ก ธุรกิ จ
(๔) การคุ้มครองสิ ทธิแรงงาน (๕) พาณิ ช ย์อิเล็ กทรอนิกส์ (๖) กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ
(๗) การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ (๘) รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานที่ได้รับสิทธิพิเศษเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ (๙) อุปสรรค
ทางเทคนิ คต่อ การค้า (๑๐) มาตรการสุ ขอนามัยและสุ ขอนามัยพืช และ (๑๑) สินค้าขยะอันตราย โดยเชิญ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาร่วมประชุมเพื่อให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ตลอดจนชี้แจงแสดงความคิดเห็น จานวน ๑๗ ครั้ง
นอกจากนี้ นายเกียรติ สิทธีอมร ประธานคณะอนุกรรมาธิการ และคณะ ประกอบด้วย
นายฐิตินันท์ แสงนาค รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง นางสาวเพชรชมพู กิจบูรณะ โฆษกคณะอนุ
กรรมาธิการ และนายนิ ลสุ วรรณ ลี ลารั ศมี ที่ ปรึกษาคณะอนุ กรรมาธิการ ให้ การรับรองนายทาฮาโมอานา
ไอเซอา คลูนี แมกเฟอร์ซัน เอกอัครราชทูตนิวซีแลนด์ประจาประเทศไทยและคณะ เพื่อหารือแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเข้าร่วมความตกลง CPTPP ของไทย ในวันศุกร์ที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องรับรอง
(สผ.) ชั้น ๓ อาคารรัฐสภา โดยประธานคณะอนุกรรมาธิการ ได้กล่าวต้อนรับคณะทูตฯ และแสดงความเห็นเรื่อง
ความร่วมมือระหว่างไทยและนิวซีแลนด์ว่า สามารถพิจารณาขยายความร่วมมือระหว่างกันได้นอกเหนือจาก
กรอบความตกลง CPTPP ทั้งนี้ในส่วนของความตกลง CPTPP ไทยไม่พร้อมที่จะแสดงความจานงขอร่วมเจรจา
เป็ น สมาชิก CPTPP ได้ก่อนวันที่ ๕ สิ งหาคม ๒๕๖๓ ซึ่งเป็นกาหนดเวลาพิจารณา หากไทยต้องการแสดง
ความจานงเข้าร่วมคงต้องเสนอเรื่องอีกครั้งในปีหน้า โดยไทยมีข้อกังวลในการเข้าร่วมความตกลง CPTPP ที่สาคัญ
๒๔

คือ เรื่องการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (International Union for the Protection


of New Varieties of Plants : UPOV) ซึ่งแม้ว่าการสนับสนุนเรื่องการคุ้มครองการพัฒนาพันธุ์พืชใหม่เป็นเรื่อง
ที่พึงกระทา แต่การปกป้องที่มากเกินไปอาจเป็นการปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม ประเทศไทยมีความหลากหลายทาง
ชีวภาพสูงและเป็นประเทศเกษตรกรรมที่ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ภาคเกษตร ซึ่งการคุ้มครองการพัฒนาพันธุ์พืชใหม่
โดยมิ ได้ค านึ งถึงการแบ่ งปั น ผลประโยชน์ในกรณี การน าเมล็ ดพั นธุ์เดิมมาใช้ ย่อมไม่ เป็น ธรรม และขัดกั บ
หลักการของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biological Diversity : CBD)
นอกจากนั้น ในกรณีประเทศมาเลเซียที่ส่งร่างกฎหมายเสนอสัดส่วนในการแบ่งปันผลประโยชน์ไป เพื่อขอ
ความเห็นจาก UPOV และ UPOV ไม่เห็นด้วย จึงมีข้อสงสัยว่า เหตุใดประเทศสมาชิกต้องส่งเนื้อความในร่าง
กฎหมายไปให้ UPOV เห็นชอบ ทั้งที่โดยหลักสากลแล้วเป็นอานาจอธิปไตยของแต่ละประเทศ จึงไม่ควรต้องขอ
อนุญาตหน่วยงานอื่นในการออกกฎหมายภายในประเทศ ทั้งนี้ อาจขอข้อเสนอแนะหรือข้อสังเกตได้ แต่ไม่ใช่
การขอความเห็นชอบ ประเทศต่าง ๆ จึงควรร่วมกันผลักดันระบบที่เหมาะสมกับสภาพความเป็นจริงที่ปฏิบัติได้
และควรมีความเป็นธรรมซึ่งทุกประเทศจะได้รับประโยชน์
ในเรื่อง Extended IP protection ก็เป็นเรื่องที่หลายฝ่ายแสดงความกังวล แม้ประเทศไทย
ในฐานะสมาชิ ก องค์ ก ารการค้ าโลก (World Trade Organization : WTO) เห็ น ด้ ว ยกั บ การคุ้ ม ครองสิ ท ธิ
ในทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา แต่ ก ารให้ ความคุ้ มครองมากเกิ น ไป (over protection) ย่ อมไม่ เป็ น ธรรม คณะอนุ
กรรมาธิการ จึงขอทราบความเห็นของประเทศนิวซีแลนด์ในเรื่องนี้
ทั้งนี้ ไทยเสนอให้สมาชิก CPTPP พิจารณานาเรื่องที่เป็นปัญหา ปฏิบัติได้ยาก หรือยังมี
ข้อโต้แย้ง แต่เป็นวาระที่เป็นประโยชน์ของบางกลุ่มจากประเทศที่มิได้เป็นสมาชิก CPTPP แล้ว ไปรวมอยู่ใน
built-in agendas เพื่อเจรจาในอนาคตเมื่อทุกประเทศสมาชิกมีความพร้อม ซึ่งจะทาให้เพิ่มจานวนสมาชิก
ได้รวดเร็วและเป็นประโยชน์กับประชาชนในประเทศสมาชิก
เอกอัครราชทูตนิวซีแลนด์ประจาประเทศไทย ได้กล่าวขอบคุณฝ่ายไทยที่ให้การต้อนรับ
ในกรณี ความตกลง CPTPP นั้ น นิ วซีแลนด์เข้าใจสถานการณ์ ของไทยดีและพร้อมสนั บสนุน รวมทั้ งจะรับ
ข้อกังวลและข้อเสนอแนะของไทยไปพิจารณาและแจ้งให้ไทยทราบต่อไป

๔. ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
คณะกรรมาธิการได้จั ดท ารายงานผลการพิ จารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้น ส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ปรากฏผลการดาเนินการ
ซึ่งสรุปได้ ดังนี้
๔.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ความตกลงหุ้ น ส่ ว นทางเศรษฐกิจภาคพื้ นแปซิฟิ ก (Comprehensive and Progressive
Agreement for Trans-Pacific Partnership : CPTPP) เป็ น ความตกลงการค้ า เสรีที่ มี ข อบเขตกว้ า งขวาง
ครอบคลุมการเปิดตลาดการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายนักธุรกิจชั่วคราว การจัด ซื้อ
จัดจ้างโดยรัฐ และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการค้า อาทิ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ทรัพย์สินทางปัญญา รัฐวิสาหกิจ
นโยบายการแข่งขันทางการค้า มาตรฐานแรงงาน สิ่งแวดล้อม รวมถึงกลไกแก้ไขข้อพิพาทระหว่างรัฐบาลและ
นักลงทุนต่างชาติ เพื่อสร้างมาตรฐานและกฎระเบียบร่วมกันระหว่างประเทศสมาชิก ประกอบด้วย ๓๐ ข้อบท
ได้ แ ก่ (๑) ความจ ากัด ความทั่ ว ไป (๒) การค้ าสิ น ค้ า (๓) สิ่ งทอและเครื่องนุ่ งห่ ม (๔) กฎถิ่น กาเนิ ด สิ น ค้ า
(๕) การบริ ห ารจั ด การทางศุ ล กากรและการอ านวยความสะดวกทางการค้ า (๖) มาตรการสุ ข อนามั ย
และสุ ข อนามั ย พื ช (๗) อุ ป สรรคทางเทคนิ ค ต่ อ การค้ า (๘) มาตรการเยี ย วยาทางการค้ า (๙) การลงทุ น
๒๕

(๑๐) การบริการข้ามพรมแดน (๑๑) บริการด้านการเงิน (๑๒) การเคลื่อนย้ายนักธุรกิจ (๑๓) โทรคมนาคม


(๑๔) พาณิ ช ย์ อิ เล็ ก ทรอนิ กส์ (๑๕) การจัด ซื้อจัด จ้างโดยรัฐ (๑๖) นโยบายการแข่งขัน (๑๗) รัฐ วิส าหกิ จ
(๑๘) ทรัพย์สิน ทางปั ญญา (๑๙) แรงงาน (๒๐) สิ่งแวดล้อม (๒๑) ความร่วมมือและการเสริมสร้างศักยภาพ
(๒๒) ความสามารถในการแข่งขันและการอานวยความสะดวกทางธุรกิจ (๒๓) การพัฒนา (๒๔) วิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม (๒๕) ความสอดคล้องของกฎระเบียบ (๒๖) ความโปร่งใสและการต่อต้านการคอร์ รัปชัน
(๒๗) การบริหารจัดการและสถาบัน (๒๘) การระงับข้อพิพาท (๒๙) ข้อยกเว้น และ (๓๐) บทสรุป
ความตกลง CPTPP ริเริ่ม มาจากความตกลงหุ้ น ส่ ว นเศรษฐกิ จภาคพื้ น แปซิฟิ ก (Trans-
Pacific Partnership : TPP) เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๔๙ ประกอบด้ ว ยสมาชิ ก ทั้ งสิ้ น ๑๒ ประเทศ ต่ อ มาเมื่ อ วั น ที่
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๐ สหรั ฐอเมริกาได้ขอถอนตัวออกจากความตกลง TPP ส่งผลให้ มีส มาชิก เหลือเพี ยง
๑๑ ประเทศ ได้แก่ ญี่ปุ่น แคนาดา เม็กซิโก เปรู ชิลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ มาเลเซีย บรูไน และ
เวีย ดนาม อย่ างไรก็ต าม แม้ส หรั ฐ อเมริกาได้ถอนตัว ออกจากความตกลง TPP แต่ ประเทศสมาชิก ที่เหลื อ
ยังเล็งเห็นความสาคัญของความตกลง TPP จึงได้ออกแถลงการณ์ร่วมเดินหน้าทาความตกลงการค้าเสรีต่อไป
ภายใต้ชื่อใหม่ คือ ความตกลงหุ้ น ส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้ นแปซิฟิก (Comprehensive and Progressive
Agreement for Trans-Pacific Partnership : CPTPP) โดยเห็ น ชอบหลั ก การส าคั ญ ของความตกลง TPP
แต่ให้ชะลอการบังคับใช้ในบางประเด็น เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นแก่ ประเทศสมาชิก ทั้งนี้ความตกลง CPTPP
มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยมีสมาชิก ๗ ประเทศที่ให้สัตยาบันแล้ว ได้แก่ ญี่ปุ่น แคนาดา
เม็กซิโก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ และเวียดนาม
สาหรับประเทศไทย รัฐบาลมีความสนใจที่จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP จึงได้
ตั้งคณะทางานเตรียมการพิจารณาเข้าร่วมความตกลง CPTPP เพื่อศึกษาแนวทางการเจรจา ประโยชน์และ
ผลกระทบจากการเข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิ ก ความตกลง CPTPP รวมทั้ ง จั ด จ้ า งบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาเพื่ อ ประเมิ น
ผลกระทบ ตลอดจนจั ด รั บ ฟั ง ความเห็ น จากผู้ มี ส่ ว นได้ เสี ย อย่ า งรอบด้ า น ก่ อ นรวบรวมข้ อ มู ล เสนอ
คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ (กนศ.) ที่ มีรองนายกรัฐมนตรี (นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ )
เป็นประธาน ให้ความเห็นชอบและนาเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาตัดสินใจ เรื่องการขอเริ่มกระบวนการเจรจา
เข้าร่วมเป็ น สมาชิกความตกลง CPTPP ในวาระการประชุมคณะรัฐมนตรี ช่วงเดือนเมษายน ๒๕๖๓ เพื่อที่
ประเทศไทยจะได้แสดงเจตจานงขอร่วมเจรจาเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP ในการประชุมรัฐมนตรี CPTPP
ได้ทั น กาหนดเดือนสิ งหาคม ๒๕๖๓ อย่ างไรก็ ต าม เมื่อ วัน ที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๓ ก่อ นที่ จะมี การประชุ ม
คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาในวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ได้ถอนเรื่องดังกล่าว
ออกจากวาระการประชุมคณะรัฐมนตรี เนื่องจากมีข้อกังวลบางประเด็นเกี่ยวกับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น
หากประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP ประกอบกับได้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ทั้งสนับสนุน
และคัดค้านการเข้าร่วมเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP จากภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคเกษตร ภาควิชาการ และภาคประชาสังคม โดยฝ่ายที่คัดค้านมีข้อกังวลว่า การเข้าร่วมความตกลง CPTPP
อาจส่ งผลให้ ต้ องเผชิ ญ กั บ การแข่ งขัน ที่ สู งขึ้ น จากสิ น ค้าและบริก ารจากประเทศสมาชิก และต้ อ งยอมรับ
พันธกรณีที่อาจมีผลกระทบในวงกว้าง ในประเด็น อาทิ การเปิดตลาดสินค้าที่สูงถึงร้อยละ ๙๕ - ๙๙ การเปิด
ตลาดบริการและการลงทุน การขึ้นทะเบียนและคุ้มครองเมล็ดพันธุ์ใหม่ การคุ้มครองด้านสิทธิทรัพย์สินทางปัญญา
เพิ่ม ขึ้น การใช้กลไกระงับ ข้อพิ พ าทระหว่างนั กลงทุ น กับรัฐ การเปิดตลาดการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ การให้
รัฐวิสาหกิจดาเนินการซื้อขายสินค้าและบริการเชิงพาณิชย์ และการให้สิทธิแรงงานต่างด้าวรวมตัวจัดตั้งสหภาพ
เป็นต้น
๒๖

นอกจากนี้ เกษตรกรที่เป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของประเทศ มีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบ


ที่อาจเกิดขึ้นต่อภาคการเกษตร โดยเฉพาะด้านพันธุ์พืช ซึ่งเกิดจากข้อบทของความตกลง CPTPP ได้กาหนดให้
ประเทศสมาชิกต้องเข้าร่วมเป็นภาคีความตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพย์สินทางปัญญา รวมถึงอนุสัญญา
ระหว่างประเทศเพื่ อการคุ้มครองพั น ธุ์พื ช ใหม่ (UPOV 1991) จะกระทบต่อวิถีชี วิตการเกษตรแบบดั้งเดิ ม
ของเกษตรกรในวงกว้าง และประเทศไทยอาจสูญเสียความได้เปรียบจากการเป็นแหล่งความหลากหลายทาง
ชีวภาพที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก ขณะที่ฝ่ายสนับสนุน เห็นว่า ความตกลง CPTPP จะเพิ่มโอกาสการส่งออก
ของประเทศไทยไปยังประเทศสมาชิก CPTPP โดยเฉพาะตลาดแคนาดาและเม็กซิโก ซึ่งประเทศไทยยังไม่มี
ข้อตกลงการค้าเสรีด้วย และช่วยดึงดูดการลงทุนที่ต้องการใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต เพื่อส่งออกไปยัง
ประเทศสมาชิก CPTPP โดยความตกลง CPTPP ถือเป็นความตกลงทางการค้าที่มีมาตรฐานสูง การเข้าร่วม
ความตกลงเป็ น โอกาสที่ ดี ในการยกระดั บ มาตรฐานการค้ า และการลงทุ น ของประเทศไทย ท าให้ รัก ษา
ขีดความสามารถทางการแข่งขันและดึงดูดการลงทุนจากประเทศคู่ค้าไม่ให้ย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทย
ไปยังประเทศสมาชิกอื่น
จากข้อกังวลและความเห็นที่ยังมีความขัดแย้งกันดังกล่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จึงได้
มีการยื่นญัตติด่วน ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งกรรมาธิการวิสามัญขึ้น คณะหนึ่ง เพื่อพิจารณาศึกษาผลกระทบ
จากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP)
ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๙ และข้อ ๕๐ ซึ่งที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่
๒๕ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓ (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่หนึ่ง) เป็นพิเศษ วันพุธที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ ได้พิจารณาญัตติ
ด่วนดังกล่าว และลงมติตั้งคณะกรรมาธิการวิส ามัญ พิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้ นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ประกอบด้วยกรรมาธิการ
จ านวน ๔๙ คน โดยก าหนดระยะเวลาพิ จ ารณาไว้ ๓๐ วั น อย่ างไรก็ ต าม เนื่ อ งจากข้ อ มู ล ข้ อ เท็ จ จริ ง
และข้อกฎหมายเกี่ยวกั บความตกลงที่ ครอบคลุ มและก้าวหน้าส าหรับหุ้ นส่ วนทางเศรษฐกิจภาคพื้ นแปซิฟิ ก
(CPTPP) มีจานวนมากและเกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วน จาเป็นต้องรับฟังความคิดเห็ น รวมทั้งศึกษาผลกระทบ
ที่อาจเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน ดังนั้น เพื่อให้การพิจารณาของคณะกรรมาธิการเป็นไปด้วยความละเอียดรอบคอบ
สามารถนาเสนอข้อมูล ข้อเท็จจริง พร้อมทั้งข้อสังเกตและข้ อเสนอแนะได้อย่างถูกต้องครบถ้วน อันจะเป็น
ประโยชน์ ต่อประชาชนและประเทศชาติ คณะกรรมาธิการจึงมีมติขยายระยะเวลาในการดาเนินงานออกไป
อีกสองครั้ง คือ ครั้งที่ ๑ ขยายระยะเวลาออกไป ๖๐ วัน โดยสิ้นสุดในวันที่ ๘ กันยายน ๒๕๖๓ และครั้งที่ ๒
ขยายระยะเวลาออกไป ๓๐ วัน โดยสิ้นสุดในวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓
โดยที่ ก ารประชุ ม คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบจากการเข้ า ร่ ว ม
ความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ครั้งที่ ๑ เมื่อวัน
พฤหัสบดีที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมได้มีมติตั้งคณะอนุกรรมาธิการขึ้น ๓ คณะ ตามข้อบังคับการประชุม
สภาผู้ แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๖ ได้ แก่ (๑) คณะอนุ กรรมาธิก ารศึก ษาผลกระทบด้ านการเกษตร
และพั น ธุ์ พื ช (๒) คณะอนุ กรรมาธิ การศึ กษาผลกระทบด้ านการแพทย์ และสาธารณสุ ข และ (๓) คณะอนุ
กรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน เพื่อศึกษาข้อมูล ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับข้อดี
ข้อเสีย ประโยชน์ โอกาส และผลกระทบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคณะอนุกรรมาธิการนั้น ๆ ตลอดจนความเห็น
และการปฏิบัติของหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ นามาจัดทารายงานผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการ
เข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) พร้อมทั้ง
ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ เสนอต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรพิจารณา ตามข้อบังคับการประชุมสภา
ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๑๐๕ ต่อไป
๒๗

๔.๒ ประเด็นการพิจารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาศึกษา โดยกาหนดประเด็นการพิจารณาศึกษา ดังนี้
๑) การพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช
๒) การพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข
๓) การพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน
๔.๓ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช
จากการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช พบว่า เกษตรกรรายย่อย
และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมด้านการเกษตรของไทย จะได้รับผลกระทบอย่างมากและกว้างขวาง
ถ้าประเทศไทยเป็ นสมาชิกความตกลง CPTPP ทั้งจากการเปิดตลาดเสรีสินค้าเกษตรและจากการรอนสิทธิ
ในการใช้พืชพันธุ์การค้าหลังจากการเข้าเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญา UPOV ดังนั้น ประเทศไทยจึงยังไม่พร้อม
จะเข้าเจรจาความตกลง CPTPP จนกว่าจะมีการทาความเข้าใจให้เกษตรกรยอมรับการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา
UPOV การเตรี ย มความพร้อมให้ แก่เกษตรกร ซึ่งยังไม่ส ามารถพึ่ งพาตนเองและไม่ส ามารถสู้ ได้ในเวทีโลก
โดยการสนั บสนุน เชิงนโยบาย และเพิ่มงบประมาณวิจัยและพัฒ นาพันธุ์พืชและขยายพันธุ์พืช เพื่อเผยแพร่
แก่เกษตรกร และเพื่อใช้ประโยชน์จากข้อได้เปรียบด้านความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งการแก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช พ.ศ. ๒๕๔๒ และจั ด ท ากฎหมายให้ ส อดคล้ อ งกั บ อนุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ย
ความหลากหลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ได้กาหนดว่า จะมีการจัดสรรงบประมาณและ
อัตรากาลังบุคลากรเพื่อการวิจัยและพัฒ นาพันธุ์พืชและเพื่อการขยายพันธุ์พืช เพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็ง
ให้แก่ระบบเกษตรกรรมไทย เช่น ปีงบประมาณ ๒๕๖๔ แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ควรได้รับงบประมาณมากกว่า ๑,๔๔๗ ล้านบาท ตามที่ได้กาหนดไว้ แต่ในทาง
ปฏิบัติการจัดสรรงบประมาณในแผนงานดังกล่าวต่ากว่าที่กาหนดไว้ทุกปี การจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP
หรือความตกลงเปิดเขตการค้าเสรีมาตรฐานสูงอื่นใด ประเทศไทยควรมีความพร้อมที่จะเป็นประเทศผู้ขายพันธุ์พืช
ให้แก่ประเทศภาคีสมาชิก ตลอดจนได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วม CPTPP ดังจะกล่าวโดยย่อ ดังนี้
๔.๓.๑ ผลกระทบด้านการเกษตร
การเข้าร่วมความตกลง CPTPP ทาให้ประเทศไทยและประเทศสมาชิกความตกลง
CPTPP ต้องเปิดเสรีทางการค้าแก่สินค้าเกษตรถึงร้อยละ ๙๕ – ๙๙ ซึ่งอาจทาให้เพิ่มโอกาสการส่งออกสินค้า
การเกษตรบางชนิด แต่จะส่งผลกระทบอย่างมากและกว้างขวางต่อเกษตรกรรายย่อย และวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมด้านการเกษตร ตามความเห็นของหน่วยงานและกลุ่มเกษตรกร ดังนี้
๑) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมปศุสัตว์ และสมาคมผู้เลี้ยงสุกร
ในปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ สินค้าด้านการเกษตรที่สาคัญ ซึ่งส่งออกไปยังประเทศ
สมาชิก CPTPP ที่ยังไม่มี FTA ได้แก่ ทูน่ ากระป๋อง ข้าว กุ้ง ยาง TSNR และทุเรียน โดยมีมูลค่า ๒.๕๘ หมื่นล้าน
บาท (ส่งออกไปยังประเทศสมาชิก CPTPP ที่มี FTA มูลค่า ๓.๓๕ แสนล้านบาท) ขณะที่สินค้านาเข้าที่สาคัญ
จากประเทศสมาชิก CPTPP ที่ยังไม่มี FTA ได้แก่ ข้าวสาลี ถั่วเหลือง มันฝรั่ง เจลาตินจากพืช ปลาซาร์ดีน และกุ้ง
โดยมีมูลค่า ๔.๙ พันล้านบาท (นาเข้าที่สาคัญจากประเทศสมาชิก CPTPP ที่มี FTA มูลค่า ๑.๐๓ แสนล้านบาท)
(รายละเอียดในภาคผนวก ค)
(๑) โอกาสและความคาดหวัง การเข้ าร่ว มความตกลง CPTPP อาจจะเปิ ด /
ขยายตลาดสินค้าเกษตรสาคัญ (เกินหนึ่งหมื่นครัวเรือน) ดังนี้
๒๘

(๑.๑) ข้าว (นาปี ๔.๓ ล้านครัวเรือน และนาปรัง ๓.๓ แสนครัวเรือน) จะได้


สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการยกเลิกภาษีนาเข้าข้าวของมาเลเซีย และอาจจะสามารถขยายตลาดไปยังแคนาดา
และเม็กซิโก ซึ่งเป็นประเทศที่นาเข้าข้าวพรีเมียมของไทย มูลค่า ๓.๓ พันล้านบาท
(๑.๒) ยางพารา (๑.๕ ล้านครัวเรือน) จะเพิ่มโอกาสการส่งออกยางพารา
และผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น
(๑.๓) กุ้งและผลิตภัณฑ์ (๒.๒ หมื่นฟาร์ม) อาจขยายการส่งออกกุ้งแปรรูป
ไปยังแคนาดา และอาจสามารถรักษาตลาดกุ้งแช่แข็งในญี่ปุ่น
(๒) ผลเสี ยและข้อกังวล การลดภาษีนาเข้าเหลื อร้อยละ ๐ แก่สิ น ค้าเกษตร
จะทาให้มผี ลกระทบอย่างกว้างขวางต่อสินค้าเกษตรสาคัญ (เกินหนึ่งหมื่นครัวเรือน) ดังนี้
(๒.๑) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (๔.๓ แสนครัวเรือน) จะมีการนาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
และ/หรือวัตถุดิบทดแทนจากกลุ่มประเทศสมาชิก CPTPP เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ในประเทศความสามารถในการแข่งขันไม่มากนัก แต่ได้พึ่งพาการบริหารจัดการการนาเข้าของรัฐบาล
(๒.๒) เนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์ (๑.๗ แสนครัวเรือน) จะมีการนาเข้าเนื้อสุกร
จากแคนาดา โดยเฉพาะเครื่องในสุกรซึ่งชาวแคนาดาไม่บริโภค ในราคาที่ต่ากว่าทุน สร้างผลกระทบอย่างมาก
และกว้างขวางต่อเกษตรกรรายย่อยที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงและห่วงโซ่การผลิตสุกรทั้งระบบ (รวมทั้งการผลิตพืช
อาหารสั ต ว์ ) ซึ่ งประเทศไทยจะต้ องใช้ ค วามตกลงว่ าด้ ว ยการตอบโต้ การทุ่ ม ตลาดขององค์ การการค้ าโลก
ในการจัดการกับปัญหานี้ นอกจากนี้ การที่ภาคี สมาชิกความตกลง CPTPP บางประเทศมีการใช้สารเร่งเนื้อแดง
ซัลบูตามอล (Salbutamol) ในระบบการผลิตสิ นค้าปศุสัตว์ จึงมีความเป็นไปได้ที่สิ นค้าปศุสัตว์ที่ปนเปื้อนสาร
เร่งเนื้อแดงจะถูกส่งออกมายังประเทศไทย ซึ่งอาจมีการตกค้างของสารเร่งเนื้อแดงในปริมาณที่อาจก่ออันตรายต่อ
สุขภาพของผู้บริโภคชาวไทย ทาให้ประเทศไทยจะต้องเข้มงวดในการร้องขอให้ประเทศผู้ส่งออกต้องยืนยันปริมาณ
สารเร่ งเนื้ อแดงในสิ น ค้ าไม่ เกิ น ปริ มาณที่ ระบุ ใน Codex Alimentarius, Maximum Residue Limits (MRLs)
and Risk Management Recommendations (RMRs) For Residues of Veterinary Drugs in Foods
(๒.๓) มะพร้ าวแห้ ง (๑.๗ แสนครั วเรื อน) จะต้ อ งเปิ ด ตลาดให้ เวี ยดนาม
และสมาชิก AFTA อีก ๓ ประเทศ และจะทาให้ประเทศไทยไม่สามารถใช้มาตรการ SSG ในกรณีมีการไหลทะลัก
ของสินค้ามะพร้าวเข้ามาในประเทศได้
(๒.๔) เนื้อโคและผลิตภัณฑ์ (๗.๘ หมื่นครัวเรือน) จะเกิดการนาเข้าเนื้อโค
คุณภาพดีจากต่างประเทศทดแทนเนื้อโคในประเทศ ซึ่งอุตสาหกรรมโคเนื้อเป็นอุตสาหกรรมที่เปราะบาง เกษตรกร
ยั งไม่ มีศั กยภาพในการแข่งขันมากนั ก ซึ่ งอาจส่ งผลกระทบต่ ออุ ตสาหกรรมการเลี้ ยงปศุสั ตว์ภายในประเทศ
นอกจากนี้ การที่ ภาคีสมาชิกความตกลง CPTPP บางประเทศมีการใช้ สารเร่งเนื้ อแดงในระบบการผลิ ตสิ นค้า
ปศุสัตว์ จึงมีความเป็ นไปได้ที่สิ นค้าปศุสั ตว์ที่ปนเปื้ อนสารเร่งเนื้อแดงเคลนบิวเตอรอล (Clenbuterol) จะถูก
ส่งออกมายังประเทศไทย ซึ่งอาจส่ งผลเสี ยต่อสุ ขภาพของผู้ บริโภคชาวไทย ทาให้ ประเทศไทยจะต้องเข้มงวด
ในการร้ องขอให้ ประเทศผู้ ส่ งออกต้องยื นยันปริมาณสารเร่งเนื้ อแดงในสิ นค้าไม่ เกิ นปริมาณที่ ระบุ ใน Codex
Alimentarius, Maximum Residue Limits (MRLs) and Risk Management Recommendations (RMRs)
For Residues of Veterinary Drugs in Foods
(๒.๕) ถั่ ว เหลื อ ง (๒.๗ หมื่ น ครั ว เรื อ น) จะมี ก ารน าเข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลื อ ง
จากกลุ่ มประเทศสมาชิก CPTPP เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะแคนาดา ซึ่งจะกระทบต่อเกษตรผู้ ปลู กถั่วเหลื อง
ในประเทศที่ความสามารถในการแข่งขันมีไม่มากนัก
๒๙

๒) กรมประมง และสมาคมการประมงแห่งประเทศไทย ได้ระบุว่า ประเทศสมาชิก


ความตกลง CPTPP ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกเขตการค้าเสรีกับประเทศไทยอยู่แล้ว จึงมีโอกาสที่สินค้าประมงจะได้
ประโยชน์จากการเพิ่มการส่งออกและลดภาษีนาเข้าน้อยมาก
๓) สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ มีข้อกังวลด้านมาตรการ
สุขอนามัย และสุ ขอนามัยพื ช (SPS) คือ ข้อกาหนดด้านความโปร่งใสในการดาเนินขั้นตอน/กระบวนการ/
มาตรการ SPS ของประเทศภาคี ส มาชิ ก เช่ น แนวทางวิ เคราะห์ ป ระเมิ น ความเสี่ ย งประกอบการน าเข้ า
การยอมรับความเท่าเทียมการตรวจประเมินและตรวจสอบกักกัน ทาให้ประเทศไทยต้องมีการปรับตัวตาม
ความตกลงนี้ และกลไกระงับข้อพิพาท (Dispute settlement) ของความตกลง CPTPP ที่เปิดโอกาสให้ภาคี
สมาชิกยื่นระงับข้อพิพาทต่อการประเมินความเสี่ยงทางวิทยาศาสตร์ การยอมรับความเท่าเทียมของระบบงาน
การตรวจสอบกักกันสินค้านาเข้า ซึ่งเป็นข้อบทที่มีความครอบคลุมสูงกว่า WTO และสูงกว่าความตกลงทุกฉบับ
ที่ผูกพันอยู่ในปัจจุบัน สาหรับข้อห่วงกังวลเรื่องการปฏิบัติตามมาตรการ SPS ว่าจะทาให้ประเทศไทยต้องเปิด
ให้มีการนาเข้าสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม (GMOs) ซึ่งปัจจุบันมติคณะรัฐมนตรีห้ามการปลูกพืชที่เป็น GMOs
ในระดั บ ไร่ น านั้ น หากรั ฐ บาลบั งคั บ ใช้ม ติค ณะรัฐ มนตรีและกฎหมายที่ เกี่ ยวข้อ งอย่ างเข้ มงวด อาจท าให้
ประเทศไทยยังไม่มีการปลูกพืชที่เป็น GMOs ต่อไปได้
๔) สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความเห็นว่า
การเข้าร่วมความตกลง CPTPP เป็นผลให้ต้องเข้าร่วมเป็น ภาคีสมาชิกอนุสัญญาบูดาเปสต์ ว่าด้วยการฝากเก็บ
จุ ลิ น ทรี ย์ เพื่ อ กระบวนการจดสิ ท ธิบั ตร ซึ่งจะท าให้ แหล่ งที่ รับฝากเก็ บทรัพ ยากรจุลิ น ทรีย์ ต้ องให้ สิ ท ธิแ ก่
ผู้ที่ต้องการปรับปรุงพันธุ์ในการนาไปใช้โดยไม่ต้องติดต่อกับเจ้าของทรัพยากรนั้นโดยตรง อันเป็นการอานวย
ความสะดวกแก่นักวิจัยชาวไทยในการนามาพัฒนาต่อยอด ขณะเดียวกัน อาจส่งผลต่อการปฏิบัติตามหลักการ
ขออนุญาตก่อนใช้ประโยชน์และการแบ่งปันผลประโยชน์จากการใช้พันธุ์จุลินทรีย์ได้
๕) สมาคมผู้ เลี้ ยงสุ กรแห่ งชาติ มี ความเห็ น ว่า จะท าให้ สิ นค้ าสุ กรจากแคนาดา
ซึ่งมีต้นทุนการผลิตต่ากว่าไทยร้อยละ ๔๐ เข้ามาทาลายระบบสินค้าสุกรในประเทศไทย สร้างความเสียหายแก่
เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรจานวนประมาณ ๒ แสนครัวเรือน ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่การผลิต และวิถีชีวิตของ
เกษตรกรอันไม่สามารถประเมินมูลค่าความเสียหายได้
๖) สภาเกษตรกร ได้แสดงความห่วงกังวลว่า การเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะสร้าง
ผลเสียอย่างกว้างขวางต่อภาคเกษตรกรรมและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ทั้ ง นี้ หลายหน่ ว ยงานยั งมี ข้ อ กั งวลต่ อ ความจริ งจั ง และต่ อ เนื่ อ งในการด าเนิ น
นโยบายของรัฐ เพื่อให้ความช่วยเหลือเยียวยา และสร้างเสริมความเข้มแข็งแก่เกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ได้รับผลกระทบหลังจากการเปิดเขตการค้าเสรี เช่น ไม่มีการเสนอกฎหมายว่าด้วย
กองทุน FTA ให้เป็นกองทุนหมุนเวียน มี เพียงการของบประมาณประจาปี (กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง
พาณิชย์) ภายใต้โครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการ ที่ได้รับผลกระทบจาก
การเปิดเสรีทางการค้า ขณะที่มีกองทุนซึ่งเป็นกองทุนหมุนเวียน เช่น กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร
เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถการแข่ ง ขั น ของประเทศของส านั ก งานเศรษฐกิ จ การเกษตร แต่ ได้ รั บ จั ด สรร
งบประมาณน้อยมาก และเยียวยาเฉพาะเกษตรกรเท่านั้น ส่งผลให้ผู้ที่ได้รับผลกระทบเกือบทั้งหมดยังไม่ได้รับ
ความช่วยเหลือใด ๆ
๓๐

๔.๓.๒ ผลกระทบจากกรณีการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญาระหว่างประเทศเพื่อการคุ้มครอง
พันธุ์พืชใหม่ (UPOV)
การเข้าร่วมความตกลง CPTPP อาจทาให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นภาคี อนุสัญญา
ระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV) ซึ่งเป็นหนึ่งในความตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพย์สิน
ทางปัญญา ที่ระบุใน Article 18.7.2 (d) ของความตกลงฯ อาจทาให้เพิ่มโอกาสการส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้น
แต่ จ ะส่ งผลกระทบอย่ างมากและกว้ างขวางต่ อวิ ถี ดั้ งเดิ มของเกษตรกรรายย่ อย และนั กปรั บปรุ งพั นธุ์ พื ช
รายใหม่ ประเทศไทยจึงไม่สามารถเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV ตามความเห็นของหน่วยงานและกลุ่มเกษตรกร
ดังนี้
๑) โอกาสและความคาดหวัง อนุสัญญา UPOV ซึ่งจะให้สิทธิเด็ดขาดในพันธุ์พืชใหม่
แก่นักปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อสร้างแรงจูงใจแก่นักปรับปรุงพันธุ์พืช โดยจะเอื้อประโยชน์ให้แก่นักปรับปรุงพันธุ์พืช
มากขึ้นกว่าที่พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนด
(๑) กรมวิชาการเกษตร มีความเห็นว่า จะทาให้มีการคิดค้น วิจัย พัฒนาพันธุ์พืช
ใหม่มากขึ้น มีเมล็ดพันธุ์ ต้นพันธุ์ ที่ตรงตามพันธุ์ ตรวจสอบได้ จาหน่ายในประเทศมากขึ้น ส่งเสริมการเป็น
ศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์ในภูมิภาค มีการแข่งขันทางด้านการพัฒนาเมล็ดพันธุ์มากขึ้น โดยมีโอกาสที่พันธุ์ พืชจาก
ต่างประเทศจะเข้ามาจาหน่ายในประเทศไทยมากขึ้น (รายละเอียดในภาคผนวก ง และภาคผนวก จ)
(๒) เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) ซึ่งผลิ ตและทาธุรกิจด้านข้าว
อธิบายว่า อนุสัญญา UPOV เป็นเพียงหลักการขั้นต่าที่ภาคีสมาชิกต้องนาไปจัดทากฎหมายให้เหมาะสมกับ
บริบทของตน เพื่อไม่ให้สร้างผลกระทบต่อเกษตรกรได้ เช่น ประเทศไทยสามารถอนุญาตให้เกษตรกรมีสิทธิ
ในการเก็บพันธุ์พืชที่มีความสาคัญต่อความมั่นคงทางอาหาร ทั้งนี้ มีความเห็นว่า รัฐบาลควรพัฒนาให้เกษตรกร
มีความรู้และทักษะในการผสมปรับปรุงพันธุ์พืช และสร้างอาชีพด้วยการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทาง
ชีวภาพที่ป ระเทศไทยมีอยู่เป็ น จานวนมากอย่างยั่งยืนให้ ได้ พันธุ์พืช ใหม่จากประเทศภาคีส มาชิกได้ มากขึ้น
และทาให้พันธุ์พืชใหม่ของประเทศไทยได้รับการยอมรับ
(๓) สมาคมพืช สวนแห่ งประเทศไทย มีความเห็ นว่า เกษตรกรจะมีทางเลื อก
ในการเข้าถึงพัน ธุ์พืช ใหม่จ ากประเทศภาคีส มาชิกได้ มากขึ้น และทาให้ พันธุ์พืช ใหม่ของประเทศไทยได้รับ
การยอมรับ
(๔) สมาคมเมล็ดพันธุ์แห่งประเทศไทย มีความเห็นว่า การเข้าร่วมอนุสัญญา
UPOV จะช่วยยกระดับ และแก้ปั ญหาการคุ้มครองพันธุ์พืชในประเทศไทย ซึ่งจะทาให้ นักปรับปรุงพั นธุ์พื ช
มีแรงจูงใจมากขึ้น อันจะส่งผลให้มีพันธุ์พืชใหม่เป็นตัวเลือกให้เกษตรกรเพิ่มขึ้น ทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณผลผลิต
สิทธิในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ และราคาเมล็ดพันธุ์ที่เหมาะสมผ่านกลไกการตลาดที่มีเกษตรกรเป็นส่วนสาคัญ
ทั้งนี้ ควรต้องมีการแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ เพื่อแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิของ
นักปรับปรุงพันธุ์พืช เนื่องจากการคุ้มครองพันธุ์พืชจะสร้างแรงจูงใจแก่นักปรับปรุงพันธุ์พืชชาวไทย
(๕) สมาคมการค้าเมล็ดพันธุ์ไทย มีความเห็นว่า การเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV
จะดูแลสิทธิประโยชน์ของนักปรับ ปรุงพันธุ์พืช และการที่ประเทศไทยจะเป็นศูนย์กลางการผลิ ตเมล็ ดพันธุ์
จะต้องทาให้กฎหมายมีความชัดเจนและยืดหยุ่น เพื่อดูแลสิทธิประโยชน์ของนักปรับปรุงพันธุ์พืช
(๖) สมาคมปรับปรุงพัน ธุ์และขยายพัน ธุ์พื ช แห่ งประเทศไทย มีความเห็ นว่า
รัฐบาลควรสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้น จากข้อได้เปรียบ
ด้านภู มิป ระเทศ ภู มิ อากาศ และฝี มื อแรงงานด้านการเกษตร โดยควรปรับปรุงกฎหมายให้ ส อดคล้ องกั บ
๓๑

อนุสัญญาระหว่างประเทศ การเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV จะเพิ่มโอกาสในการลงทุนในธุรกิจเมล็ดพันธุ์ ทั้งนี้


รัฐบาลควรสนับสนุนงานวิจัยด้านการพัฒนาพันธุ์พืชอย่างต่อเนื่องด้วย
(๗) สมาคมเมล็ ด พั น ธุ์ พื ช ภาคพื้ น เอเชี ย และแปซิ ฟิ ก ซึ่ งเป็ น ผู้ สั งเกตการณ์
ในการประชุมของสหภาพอนุสัญญา UPOV ได้ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันประเทศไทยส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อน
เป็นอันดับ ๑ ของเอเชียแปซิฟิก และแสดงความเห็นว่า เกษตรกรควรได้รับสิทธิในการเก็บเมล็ดพันธุ์พืชใหม่
ไปปลูกเพื่อบริโภคและจาหน่ายผลิตผล นอกจากนี้ ภาครัฐควรมีนโยบายที่ชัดเจน ซึ่งเน้นงานด้านการพัฒนา
พัน ธุ์พื ช การจดทะเบี ย นพัน ธุ์พืช และคุณ ภาพเมล็ ดพันธุ์ เพื่อให้ ประเทศไทยส่งออกเมล็ดพัน ธุ์พืช เขตร้อน
เป็นอันดับ ๑ ของเอเชียแปซิฟิกต่อไป และได้แสดงความเห็นว่า อนุสัญญา UPOV จะทาให้ประเทศไทยสามารถ
เข้าถึงระบบฐานข้อมูลพันธุ์พืชใหม่ของภาคีสมาชิก เพื่อใช้ในการตรวจสอบคาขอจดทะเบียนรับคุ้มครองพันธุ์พืช
ใหม่ในประเทศไทยได้
๒) ผลเสียและข้อกังวล การจะเข้าเป็นภาคีสมาชิกของอนุสัญญา UPOV ประเทศไทย
จาเป็นต้องมีการแก้ไขกฎหมายพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ในหลายมาตรา เพื่อให้เป็นไป
ตามเกณฑ์ ขั้ น ต่ าของอนุ สั ญ ญา UPOV จะท าให้ ส่ ง ผลเสี ย และมี ข้ อ กั ง วล ตามความเห็ น ของหน่ ว ยงาน
และเกษตรกรกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้
(๑) กรมวิชาการเกษตร มีความเห็นว่า รัฐบาลต้องผลักดันนโยบายส่งเสริมการ
วิจัยพัฒนาพันธุ์พืชอย่างเต็มที่และต่อเนื่องก่อนเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV และต้องช่วยให้เกษตรกรปรับตัว
เพื่ อแข่ งขัน ต้องรู้ แ ละเข้ าใจกฎหมายเพื่ อ จะไม่ กระท าการละเมิด สิ ท ธิ ของนัก ปรับ ปรุงพั น ธุ์พื ช ผู้ ท รงสิ ท ธิ
ในพันธุ์พืชใหม่
(๒) กรมการข้าว มีความเห็นว่า การที่ประเทศไทยเป็นถิ่นกาเนิดของข้าว จึง มี
ความสมบูรณ์และความหลากหลายของพันธุ์ข้าว ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบ แต่รัฐบาลได้ลดทอนงบประมาณและ
จานวนบุคลากรที่เป็นนักวิจัย สาหรับงานวิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าวอย่างต่อเนื่อง ทาให้หน่วยงานของรัฐสามารถนา
เชื้ อ พั น ธุก รรมข้ าวของประเทศไทยที่ มี อยู่ ในปั จจุ บั นกว่า ๒๔,๘๕๒ ตั วอย่ าง (รายละเอี ย ดในภาคผนวก ฉ)
มาศึกษาวิจัยพัฒนาและต่อยอดให้เกิดประโยชน์ได้น้อยมาก โดยกรมการข้าวได้รับงบประมาณด้านการวิจัย
ในปี ๒๕๕๙ ได้รับงบประมาณจานวน ๑๙๔.๕ ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณด้านการปรับปรุงพันธุ์ร้อยละ ๕๐.๖๑
ปี ๒๕๖๐ ได้รับงบประมาณจานวน ๒๓๔.๖ ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณด้านการปรับปรุงพันธุ์ร้อยละ ๔๙.๑๑
ปี ๒๕๖๑ ได้รับงบประมาณจานวน ๒๒๕.๖ ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณด้านการปรับปรุงพันธุ์ร้อยละ ๔๗.๕๘
ปี ๒๕๖๒ ได้รับงบประมาณจานวน ๑๘๗.๘ ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณด้านการปรับปรุงพันธุ์ร้อยละ ๔๗.๐๔
และปี ๒๕๖๓ ได้รับงบประมาณจานวน ๑๙๓.๗ ล้านบาท ซึ่งเป็นงบประมาณด้านการปรับปรุงพันธุ์ร้อยละ ๒๙.๕๐
จึงมีข้อกังวลว่าการเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะทาให้ประเทศไทยสูญเสียความได้เปรียบในส่วนนี้ เนื่องจาก
จะเกิดการถ่ายเทพันธุ์ข้าวระหว่างประเทศภาคีสมาชิก โดยประเทศสมาชิกสามารถนาพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
ไปพั ฒ นาต่ อยอดได้ ส่ งผลต่ อเกษตรกรเรื่ องต้ นทุ น เมล็ ดพั น ธุ์ ข้ าวที่ จะสู งขึ้ น ดั งนั้ นประเทศไทยจึ งยั งไม่ มี
ความพร้อมที่จะเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV แต่ควรพัฒนาระบบคุ้มครองพันธุ์ข้าวของประเทศไทย และจัดทา
ฐานข้อมูลพันธุกรรมข้าวให้ถูกต้องสมบูรณ์
(๓) กรมส่งเสริมการเกษตร มีความเห็นว่า ประเทศไทยยังไม่มีความพร้อมในการ
เข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV เช่น ด้านฐานข้อมูลพันธุ์พืชดั้งเดิมของประเทศไทย และด้านการวิจัยและพัฒนา
พั น ธุ์ พื ช เกษตร โดยในขณะนี้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ ที่ มี ห น้ า ที่ พั ฒ นาและขยายพั น ธุ์ พื ช ได้ ถู ก ลดบทบาท
และงบประมาณลงมาก ทั้งยังได้โอนย้ายศูนย์เมล็ดพันธุ์พืชซึ่งเคยทาหน้าที่ขยายพันธุ์พืชแจกจ่ายแก่เกษตรกร
จานวนกว่า ๒๐ แห่ง จากกองขยายพัน ธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ไปสังกัดกรมการข้าว และลดบทบาท
๓๒

เหลือเพียงผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวแจกจ่ายแก่เกษตรกร ทาให้การพัฒนาและผลิตส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่
จากการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐเพื่อเผยแพร่ให้กับเกษตรกรนั้น เหลือในสัดส่วนที่น้อยมาก (รายละเอียด
ในภาคผนวก ช) ทั้งนี้ได้รวบรวมข้อห่วงกังวลของเกษตรกรรายพืชไว้ด้วย (รายละเอียดในภาคผนวก จ)
(๔) สานักงานที่ปรึกษาเกษตรต่างประเทศ ประจากรุงโตเกียว ได้ส่งเอกสารแจ้งว่า
พันธุ์ที่เกษตรกรญี่ปุ่นใช้ในปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ทั่วไป โดยพันธุ์ทั่วไปของข้าวคิดเป็นร้อยละ ๘๔ ของผัก
คิดเป็นร้อยละ ๙๑ ของแอปเปิลคิดเป็นร้อยละ ๙๖ ส่วนพันธุ์ธัญพืช ผัก และผลไม้ ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน
กว่าร้อยละ ๖๐ เป็ นพันธุ์ที่พัฒ นาโดยหน่วยงานราชการ ซึ่งเก็บค่าพันธุ์ในอัตราที่ต่า จึงทาให้ การเป็นภาคี
อนุสัญญา UPOV ไม่มีผลกระทบต่อเกษตรกรมากนัก
(๕) กรมปศุสัตว์ มีความเห็นว่า การที่จะมีการจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่
ของพืชอาหารสัตว์ตามอนุสัญญา UPOV ภายใต้ความตกลง CPTPP อาจทาให้ต้นทุนอาหารสัตว์สูงขึ้น
(๖) ส านั ก งานพั ฒ นาเศรษฐกิ จ จากฐานชี ว ภาพ (องค์ ก รมหาชน) มี ข้ อ กังวล
เกี่ยวกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งถือเป็นจุดแข็งของประเทศไทย เนื่องจาก
อนุสัญญา UPOV จะส่งผลกระทบต่อกลไกการเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพ โดยกฎหมาย
ของประเทศไทยที่มีการบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน และมีการกาหนดในเรื่องของการเข้าถึงและแบ่งปันผลประโยชน์
จากทรัพยากรชีวภาพ คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ กาหนดให้นักปรับปรุงพันธุ์พืชต้อง
แสดงที่มาของพันธุ์พืชใหม่หรือสารพันธุกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงพัน ธุ์ ซึ่งเป็นกลไกสาคัญ ที่ผูกพันให้มีการทา
ข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ ทั้งนี้ หากเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV แล้ว จะทาให้ต้องตัดมาตราที่กาหนด
เรื่องการแสดงที่มาของพันธุ์พืชใหม่ (อ้างอิงคาวินิจฉัยของสหภาพ UPOV ต่อกฎหมายของมาเลเซีย ซึ่งมีการ
กาหนดในลักษณะคล้ายคลึงกับกฎหมายไทย) และการขยายสิทธิของนักปรับปรุงพันธุ์พืชผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชใหม่
ให้ครอบคลุมถึง EDV ของอนุสัญญา UPOV อาจส่งผลกระทบต่อการคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์พืชของเกษตรกร
รายย่อยและชุมชนท้องถิ่น โดยอาจไม่สามารถทาตามวิถีของเกษตรกรที่มีมาแต่เดิมในการคัดเลือกเก็บพันธุ์
ทีเ่ กิดขึ้นใหม่ซึ่งมีลักษณะที่ต้องการ จากในแปลงปลูกมาปลูกได้
(๗) สมาคมชาวนาและเกษตรกรไทย มีความเห็นว่า การเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา
UPOV จะเพิ่มอานาจการผูกขาดด้านพันธุ์พืช และห้ามเกษตรกรเก็บส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ไปปลูกต่อ
ในฤดูถัดไป รวมทั้งขยายอานาจการผูกขาด จากเดิมเฉพาะส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ไปยังผลิตผลหรือ
ผลิตภัณฑ์ และกระทบต่อการพัฒนาขีดความสามารถของนักปรับปรุงพันธุ์ พืชรายย่อยและเกษตรกรรายย่อย
ซึ่งรวมถึงเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพร ส่ งผลต่อต้นทุนการเพาะปลูกและราคาสมุนไพร การแข่งขั น การต่อยอด
และการค้นคว้าวิจัย จึงเห็นว่า ต้องไม่ให้ข้าวเป็นพืชพันธุ์ใหม่ที่จะได้รับความคุ้มครองตามอนุสัญญา UPOV
นอกจากนี้ ยั งมี ข้อกังวลถึงผลกระทบที่ประเทศไทยจะได้รับ หากต้องมีการปรับ ปรุงแก้ไขพระราชบั ญ ญั ติ
คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ คือ จะมีผลกระทบต่อกลไกการแบ่งปันผลประโยชน์ จากการขออนุญาตนาพันธุ์
พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า ซึ่งเป็นพันธุ์พืชดั้งเดิมของประเทศไทย ในกรณีที่มีผู้นาไปปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา
ทดลอง หรือวิจัยพัฒนาต่อยอดแล้วจดทะเบียนเป็นทรัพย์สินทางปัญญาของตน
(๘) สมาพั นธ์ไม้ดอกไม้ ประดับแห่ งประเทศไทย มีความเห็ นว่า จะเป็ นการเปิ ด
โอกาสให้กับต่างชาติที่จะมาลักลอบนาพันธุ์พืชพื้นเมืองของไทยไปขอรับความคุ้มครองในต่างประเทศ ซึ่งจะทา
ให้ผู้ส่งออกไม่สามารถจาหน่ายไปยังประเทศที่พันธุ์นั้นได้รับความคุ้มครองสิทธิ และจะเป็นการเปิดโอกาสให้กับ
ต่างชาติเข้ามานาพันธุ์พืชของไทยไปพัฒนาได้ และส่งกลับมาจาหน่ายในประเทศได้เร็วกว่านักปรับปรุงพันธุ์พืช
ชาวไทย อาจท าให้ พั น ธุ์พื ช ดั้ งเดิม ของไทยสู ญ หายไป นอกจากนี้ ยังได้แ จ้งให้ ท ราบถึงเหตุ ผ ลหนึ่ งที่ ท าให้
๓๓

นั ก ปรั บ ปรุงพั น ธุ์ พื ช ชาวไทยไม่ ยื่ น ขอจดทะเบี ยนรับ ความคุ้ม ครองพั น ธุ์พื ช ใหม่ คือ ความยุ่งยากซั บ ซ้อ น
ของกระบวนการ จึงเห็นว่ารัฐบาลควรต้องเตรียมความพร้อมให้แก่เกษตรกรก่อนเข้าร่วมความตกลง CPTPP
(๙) เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้ ได้ให้ความเห็นว่า รัฐบาลควรเตรียมความพร้อม
ให้แก่เกษตรกรมากกว่านี้ โดยให้ประวิงเวลาการเข้าเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญา UPOV ให้นานที่สุด
(๑๐) เกษตรกรผู้ผลิตดอกดาวเรือง มีความห่วงกังวลว่า การเข้าร่วมภาคีอนุสัญญา
UPOV อาจทาให้ต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ดาวเรืองจากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาสูงกว่าเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตภายในประเทศ
(๑๑) เกษตรกรผู้ผลิ ตผัก ได้เสนอว่า การเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะต้อง
ไม่ทาให้เกษตรกรเสียประโยชน์ และต้องการให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีและความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์
ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน เพื่อให้เกษตรกรมีอิสระ ไม่ต้องพึ่งพาเมล็ดพันธุ์จากบริษัท
(๑๒) เกษตรกรผู้ผลิตพืชสมุนไพร มีความห่วงกังวลว่า อาจทาให้ เกษตรกรเป็น
ผู้ละเมิดสิทธิ เมื่อพันธุ์พืชใหม่ที่ปรับปรุงพันธุ์จากพันธุ์พืชดั้งเดิมเกิดการผสมพันธุ์ข้ามแปลง และขอให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องชี้แจงทาความเข้าใจเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงจากการเข้าร่วมความตกลง CPTPP ให้เกษตรกรทราบ
และเข้าใจอย่างถูกต้องและทั่วถึงกว่าที่ผ่านมา
(๑๓) สภาเกษตรกร ได้แสดงความห่วงกังวลว่า การเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV
จะกระทบต่ออธิปไตยของประเทศไทย และสร้างการผูกขาดด้านพันธุ์พืช อันจะส่งผลเสียต่อเกษตรกรรายย่อย
อย่างกว้างขวาง จึงต้องดาเนินมาตรการเพื่อสร้างเสริมศักยภาพ เงื่อนไขความพร้อมแก่เกษตรกรและภาคส่วน
ที่เกี่ยวข้องให้ เห็ นผลอย่างเป็นรูปธรรมในเบื้องต้นก่อน เพื่อให้ เกษตรกรสามารถเข้าถึงและได้รับประโยชน์
จากความตกลงดังกล่าว
โดยสรุป ผลกระทบที่จะเกิดแก่ประเทศไทยมีหลายประเด็น (คาดการณ์ ผลกระทบเพิ่มเติม
ปรากฏในภาคผนวก ค) เช่น
๑. สูญเสียประสิทธิภาพในการกากับดูแลการขออนุญาต และแบ่งปันผลประโยชน์ในกรณี
ที่มีการใช้พันธุ์พืช พื้น เมืองทั่วไป พันธุ์พืช ป่า หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพันธุ์พืชดังกล่าวในการปรับปรุงพันธุ์
เพื่ อ ประโยชน์ ในทางการค้ า เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถก าหนดให้ แ สดงหลั ก ฐานการขออนุ ญ าตและแบ่ ง ปั น
ผลประโยชน์ในการยื่นขอจดทะเบียนขอรับความคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ได้อีกต่อไป ทาให้ต่างชาติมีโอกาสที่จะมา
ลักลอบเอาพัน ธุ์พืช พื้น เมืองของไทยไปขอรับความคุ้มครองในต่างประเทศ ซึ่งจะทาให้ ผู้ส่ งออกไม่สามารถ
จาหน่ายไปยังประเทศที่พันธุ์นั้นได้รับความคุ้มครองสิทธิ และจะเป็นการเปิดโอกาสให้กับต่างชาติเข้ามานา
พั น ธุ์พื ช ของไทยไปพั ฒ นาได้ และส่ งกลั บ มาจ าหน่ า ยในประเทศได้ เร็ว กว่ า นั ก ปรับ ปรุ งพั น ธุ์ พื ช ชาวไทย
โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปัจจุบันประเทศไทยยังขาดความพร้อมด้านระบบฐานข้อมูลพันธุ์พืชดั้งเดิม
๒. อาจสร้างปั ญ หาการละเมิดสิทธินั กปรับปรุงพันธุ์ พืชโดยไม่เจตนา จากการขยายสิ ทธิ
คุ้มครองพัน ธุ์พืช ใหม่ให้ ครอบคลุมถึงอนุพันธ์ สาคัญ (Essentially derived variety; EDV) ของพันธุ์พืชใหม่
ด้วย หากเกสรจากพันธุ์พืชใหม่ถูกลมหรือสัตว์พาหะนาไปผสมกับพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปในแปลงข้างเคียง ในบาง
กรณี อาจทาให้ เมล็ ดพั น ธุ์ของเกษตรกรในแปลงข้างเคียงเข้าข่ายที่จะเป็น EDV ได้ นอกจากนี้การให้ ความ
คุ้มครองแก่ EDV ยั งจะส่ งผลกระทบต่อการคัดเลื อก และพัฒ นาพันธุ์พืช ของเกษตรกรรายย่อยและชุมชน
ท้องถิ่นโดยอาจไม่สามารถทาตามวิถีของเกษตรกรที่มีมาแต่เดิมในการคัดเลือกเก็บพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะที่ต้องการ
ที่เกิดขึ้นใหม่จากในแปลงปลูกมาปลูกได้
๓. สูญเสียความได้เปรียบจากการที่ประเทศไทยเป็นถิ่นกาเนิดของความหลากหลายของ
พัน ธุ์ข้าว (ในปั จจุ บั น ได้รวบรวมเชื้อพัน ธุกรรมไว้กว่า ๒๔,๘๕๒ ตัวอย่าง) โดยยังไม่มีการจัดทาฐานข้อมูล
พันธุกรรมข้าวให้ถูกต้องสมบูรณ์ การเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะอานวยความสะดวกให้เกิดการถ่ายเทพันธุ์ข้าว
๓๔

ระหว่างประเทศภาคีสมาชิก โดยประเทศสมาชิกสามารถนาพันธุ์ข้าวของประเทศไทยไปพัฒนาต่อยอดได้ ส่งผลต่อ


เกษตรกรเรื่องต้นทุนเมล็ดพันธุ์ข้าวที่จะสูงขึ้น
๔. ท าให้ ต้อ งจดทะเบี ยนคุ้ มครองพั น ธุ์พื ช ดั ดแปลงพั น ธุกรรม จากเดิ ม พระราชบั ญ ญั ติ
คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่จดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์ ให้พืชดัดแปลงพันธุกรรมที่ยังไม่ผ่านกระบวนการ
ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะทาให้ ไม่สามารถ
ใช้ ม าตรการตาม Precautionary approach (อาจถูก พิ จ ารณาว่าไม่ เป็ น ไปตามหลั ก SPS) ในการควบคุ ม
การนาเข้าพืชดัดแปลงพันธุกรรมได้ การจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชดัดแปลงพันธุกรรมอาจทาให้ผู้บริโภค
ประเทศคู่ค้า ซึ่งไม่ยอมรับผลิตผลจากพืชดัดแปลงพันธุกรรม เกิดความเข้าใจผิดและปฏิเสธการสั่งซื้อผลิตผล
จากประเทศไทยได้ ซึ่งจะกระทบปริมาณการส่งผลิตผลพืชที่มีราคาสูงไปยังตลาดที่มีกาลังซื้อสูง
๕. ทาให้เกษตรกรรายย่อยอาจต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ในราคาที่สูงขึ้น เพราะหน่วยงานภาครัฐถูกลด
งบประมาณและอัตรากาลังบุคลากรที่เคยทางานปรับปรุงพันธุ์พืชและขยายพันธุ์พืช เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่
เกษตรกร ทาให้ การพัฒนาและผลิตส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่จากการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ
เพื่อเผยแพร่ให้กับเกษตรกรนั้น เหลือในสัดส่วนที่น้อยมาก ขาดการถ่วงดุลด้านราคาเมล็ดพันธุ์ -ส่วนขยายพันธุ์
กับภาคเอกชน ขณะที่เกษตรกรในประเทศญี่ปุ่นใช้พันธุ์ทั่วไปและพันธุ์จากหน่วยงานของรัฐในสัดส่วนที่สูง
การที่เมล็ดพันธุ์มีราคาสูงขึ้นในช่วงก่อนที่ตลาดเมล็ดพันธุ์จะมีการแข่งขันเสรีอย่างจริงจัง
จะส่ งผลต่ อ ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ อาหารมนุ ษ ย์ แ ละอาหารสั ต ว์ ซึ่ ง จะท าให้ ร ะดั บ ค่ า ครองชี พ สู งขึ้ น และลดขี ด
ความสามารถในการแข่งขันกับสินค้านาเข้าจากประเทศอื่นที่เป็นภาคีความตกลง CPTPP
๖. อาจทาให้เกษตรกรและพ่อค้าแม่ค้ารายย่อย ซึ่งนาผลิตผล/ผลิตภัณฑ์ไปจาหน่ายปลีก
ในตลาด ถูกดาเนินคดีอย่างกว้างขวาง เนื่องจากอนุสัญญา UPOV ขยายสิทธินักปรับปรุงพันธุ์ พืชให้ รวมถึง
ผลิ ต ผลและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ได้ จ ากการใช้ส่ ว นขยายพั น ธุ์ที่ ได้ ม าโดยละเมิ ดสิ ท ธินั กปรับ ปรุงพั น ธุ์ พื ช เพราะมี
ความเป็ น ไปได้ในทางปฏิบั ติที่ต่ามากที่บุคคลเหล่านั้นจะมีใบเสร็จ/สาเนาใบเสร็จการซื้อเมล็ดพันธุ์อันเป็น
หลักฐานแสดงว่า ผลิตผล/ผลิตภัณฑ์ที่นาไปจาหน่ายนั้นได้จากพืชที่ปลูกจากส่วนขยายพันธุ์ซึ่งชอบด้วยกฎหมาย
๗. จะเป็นอุปสรรคแก่นักปรับปรุงพันธุ์พืชรายย่อยและนักปรับปรุงพันธุ์พืชรายใหม่ แต่จะ
เอื้อประโยชน์แก่นักปรับปรุงพันธุ์พืชรายใหญ่ที่มีทุน กาลังคน และเทคโนโลยีซึ่งเหนือกว่า เนื่องจากอนุสัญญา
UPOV จะทาให้ต้องขยายขอบเขตสิทธิของนักปรับปรุงพันธุ์ พืช ให้ครอบคลุมถึงพันธุ์ที่เป็นอนุพันธ์สาคัญของ
พันธุ์พืชใหม่ และพันธุ์ที่ไม่แตกต่างอย่างชัดเจนจากพันธุ์พืชใหม่ แม้ได้จากการปรับปรุงพันธุ์โดยไม่ได้ใช้พันธุ์พืช
ใหม่นั้น
ทั้งนี้ เกษตรกรเกือบทุกกลุ่มที่เชิญมาให้ข้อมูล ยังไม่ยอมรับที่จะเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญา
UPOV โดยมีเพียงเกษตรกรรุ่นใหม่ จานวน ๑ ราย ซึ่งเห็นด้วยกับการเข้าร่วมเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV และ
เกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศ ซึ่งยังไม่แน่ใจ
นอกจากนี้ จากการพิ จารณาศึกษา ยังได้พบประเด็นที่ น่าสนใจจากเว็บไซต์ของสหภาพ
UPOV คือ
๑) ตามเอกสารแนวทางเพื่อเข้าเป็นภาคีสมาชิกอนุสัญญา UPOV (เอกสาร UPOV/INF/13/2)
ประเทศที่สนใจจะต้องยกร่างกฎหมายตามเกณฑ์ขั้นต่าของอนุสัญญา UPOV 1991 แล้วขอรับคาแนะนาจาก
สภาของสหภาพ UPOV เพื่อปรับปรุงร่างกฎหมายตามผลการวิเคราะห์ของสานักงานสหภาพฯ โดยจะมีการนา
ผลการวิเคราะห์ไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของสหภาพฯ เพื่อให้ภาคีสมาชิ กและผู้สังเกตการณ์อย่างเป็นทางการ
ได้ มีโอกาสในการพิ จ ารณาและให้ ข้อ เสนอแนะ ก่อ นคณะกรรมการที่ ป รึกษาของสหภาพจะให้ ความเห็ น
๓๕

เบื้องต้นแล้วส่งให้สภาสหภาพฯ เพื่อพิจารณา เมื่อสภาสหภาพฯ มีมติให้ คาแนะนาเชิงบวก (positive advice)


ประเทศนั้นจึงจะสามารถเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา UPOV ได้
๒) ตามข้ อ มู ล ปรากฏในเว็ บ ไซต์ ข องสหภาพ UPOV (https://www.upov.int/export/
sites/upov/members/en/pdf/status.pdf) ได้จัดสถานภาพของประเทศไทยในวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๖๓ ว่า
อยู่ในกลุ่มที่ ๓ คือ เป็นประเทศซึ่งเคยมีการติดต่อกับสานักงานสหภาพฯ เพื่อรับความช่วยเหลือในการจัดทา
กฎ หมายบนพื้ นฐานของอนุ สั ญ ญ า UPOV (have been in contact with the office of the union for
assistance in the development of laws based on the UPOV convention) ทั้งที่ในกระบวนการยกร่าง
กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์ พืชใหม่ของกรมวิช าการเกษตรก่อน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไม่เคยมีการติดต่อขอรับ
ความช่วยเหลือในการจัดทากฎหมายจากสานักงานสหภาพฯ และผู้แทนกรมวิชาการเกษตรได้แจ้งว่า ปัจจุบัน
สานักคุ้มครองพันธุ์พืชยังไม่มีการจัดทากฎหมายบนพื้นฐานของอนุสัญญา UPOV ทั้งนี้ ในความพยายามปฏิบัติ
ตามข้อตกลง TRIPs ก่อน พ.ศ. ๒๕๔๒ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ยกร่างกฎหมายตามกฎหมายสิทธิบัตรพันธุ์พืช
ของสหรัฐอเมริกา จึงไม่เกี่ยวข้องกับอนุสัญญา UPOV
๔.๓.๓ ความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จากการรับทราบข้อมูลจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และจากการศึกษาข้อมูลต่าง ๆ
พบว่า เกษตรกรรายย่อย และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมด้านการเกษตรของไทย จะได้รับผลกระทบ
เป็นอย่างมากและกว้างขวางหากประเทศไทยเป็นสมาชิกความตกลง CPTPP คณะกรรมาธิการ จึงมีความเห็นว่า
๑) การที่รัฐบาลยังไม่มีความจริงจังในการจัดสรรงบประมาณ และอัตรากาลังบุคลากร
ให้สอดคล้องกับที่ระบุในแผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพื่อการสนับสนุนดูแลเกษตรกรรายย่อย วิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง ประเทศไทยจึงยังไม่พร้อมที่จะเข้าเจรจาความตกลง CPTPP
๒) ประเทศไทยควรต้องรีบสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบเกษตรกรรม เพื่อผลประโยชน์
ในภาพรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากต้องการปรับปรุงกฎหมายให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับอนุสัญญา UPOV ดังนี้
(๑) ด้านการเกษตร
(๑.๑) ประเทศไทยควรกาหนดนโยบายด้านการเกษตร และดาเนินการอย่าง
เป็นรูปธรรม เพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และสร้างเสริมความเข้มแข็งทั้งด้านการผลิตและการตลาดแก่กลุ่มเกษตรกร
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม โดยยึดหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(๑.๒) รัฐบาลควรต้องรีบตรากฎหมายจัดตั้งกองทุน FTA โดยอาจพิจารณา
สมทบด้วยรายได้ของรัฐที่เพิ่มขึ้นจากการเข้าร่วมความตกลงเปิดเขตการค้าเสรี (FTA) เป็นส่วนหนึ่งของเงินกองทุน
เพื่อใช้สนับสนุนและสร้างเสริมความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรรายย่อยและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ได้รับ
ผลกระทบหลังจากการเปิดเขตการค้าเสรี
(๑.๓) รั ฐ บาลควรต้ อ งรี บ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไขกฎหมายที่ มี อ ยู่ ห รื อ กฎหมาย
ด้านการเกษตร (เช่น พระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. ๒๕๐๗ และกฎกระทรวงว่าด้วยการกาหนดโรคระบาด โรคหรือ
ลักษณะของสัตว์หรือเนื้อสัตว์ที่ไม่เหมาะสมที่จะใช้เนื้อสัตว์นั้นเป็นอาหาร พ.ศ. ๒๕๔๖) เพื่อสร้างมาตรการเสริม
ให้กับกฎหมายบางฉบับที่อาจถูกลดทอนอานาจการกากับดูแล จากการเข้าร่วมความตกลงเปิดเขตการค้าเสรี
(๑.๔) รัฐบาลควรต้องผลักดันการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีศักยภาพของไทย
ซึ่งกาหนดให้เป็นสินค้าอ่อนไหวภายใต้ความตกลงเปิดเขตการค้าเสรีที่มีอยู่ในปัจจุบัน เช่น ข้าว ไก่ ยางพารา
และน้าตาล ให้ได้ประโยชน์สูงสุด
๓๖

(๑.๕) รัฐบาลต้องเร่งรัดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการพิจารณาปรับ


โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเป็นการด่วน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ให้ครอบคลุม
ตั้งแต่ระดับฟาร์มถึงการแปรรูปขั้นต้น
(๒) ด้านพันธุ์พืช
(๒.๑) การที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ ถู ก ระบุ
ใน Sustainability Toolkit for Trade Negotiators ซึ่ งร่ ว มกั น จั ดท าและปรั บ ปรุ ง โดย United Nations
Environment Programme (UNEP) and International Institute for Sustainable Development (IISD)
ว่าเป็นตัวอย่างกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชที่มีข้อยกเว้น เพื่อนักปรับปรุงพันธุ์พืชและสิทธิพิเศษของเกษตรกร
ซึ่งเหมาะสมในการส่งเสริมให้มีการปรับปรุงพันธุ์พืชสาหรับพื้นที่และสภาพภูมิอากาศเฉพาะ อันเป็นแนวทาง
สาหรับการผลิตทางการเกษตรให้มีมูลค่าสูง ตามแผนย่อยเกษตรอัตลักษณ์ ของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร
ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี นอกจากนี้การที่ข้าวเป็นพืชอ่อนไหว ซึ่งไม่สามารถใช้เกณฑ์ขั้นต่าตามข้อบท
ของอนุสัญญา UPOV ในการให้ความคุ้มครองพันธุ์ใหม่ได้ รวมถึงประเทศไทยเป็นแหล่งความหลากหลายทาง
ชีวภาพที่สาคัญ ทาให้ อนุสัญญา UPOV ไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้ในบริบทของประเทศไทย ดังนั้น การเจรจา
เปิ ดเขตการค้าเสรีมาตรฐานสูง ประเทศไทยจึ งต้องไม่รับข้อเจรจาที่จะให้ ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิกของ
อนุสัญญา UPOV แต่ควรมีท่าทีเจรจาเพียงจะจัดทาให้มีกฎหมายที่ให้ผลใกล้เคียงกับหลักการของอนุสัญญา
UPOV 1991 เท่านั้น เพื่อให้มีข้อบทที่เหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิตและสังคมเกษตรกรรมไทย ทั้งนี้ จะต้องขอ
ระยะเวลาจัดทากฎหมายให้นานที่สุดด้วย
(๒.๒) ก่ อ นการตรากฎหมายให้ มี ผ ลใกล้ เคี ย งกั บ หลั ก การของอนุ สั ญ ญา
UPOV 1991 และเหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิตและสังคมเกษตรกรรมไทย ในอนาคตประเทศไทยต้องรีบแก้ไข
เพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ (ตัวอย่างร่างกฎหมายในภาคผนวก ซ) เพื่อเตรียมการให้
กลุ่ มเกษตรกรมีการปรับ ตัว และสร้ างเสริม ความเข้มแข็งด้ านการปรับ ปรุง พั นธุ์ และพั ฒ นาพั นธุ์พื ช ได้ มาก
เพียงพอ เพื่อให้สามารถเอื้อประโยชน์ต่อการทาเกษตรยั่งยืนได้เป็นอย่างดี เพื่อ แก้ปัญหาการใช้ และให้การ
บังคับใช้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และเพื่อเพิ่มโอกาสให้ชุมชน กลุ่มเกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร สามารถ
พัฒนาความเข้มแข็งด้านการอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์พืชด้วยเงินจากกองทุนคุ้มครองพันธุ์พืช รวมทั้งปรับปรุง
อนุ บัญญัติของพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช เพื่อให้กระบวนการขอรับการคุ้มครองพันธุ์ใหม่ เป็นไปตาม
เจตนารมณ์ และให้ ส ะดวกมากขึ้น ตามแผนย่อยเกษตรชีว ภาพของแผนแม่บทประเด็น การเกษตร ภายใต้
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และยังจะช่วยขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์ พืชเขตร้อนชื้น
(Seed–hub for tropical crops) ตามแผนย่อ ยเกษตรแปรรูป ของแผนแม่ บ ทประเด็ น การเกษตร ภายใต้
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี อีกด้วย
(๒.๓) รัฐ บาลต้อ งเร่งเพิ่ ม การสนับ สนุน งบประมาณแก่ห น่ ว ยงานของรัฐ
(เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมส่ งเสริมการเกษตร และสถาบั นการศึ กษา) ให้ เพี ยงพอและอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อดาเนินการโครงการปรับปรุงพันธุ์พืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาพันธุ์พืชให้เป็นทางเลือก
แก่เกษตรกร โดยกลุ่ ม เกษตรกรต้อ งมี ส่ ว นร่ว มตลอดกระบวนการปรับ ปรุงพั น ธุ์พื ช และนั กวิจั ยด้ านการ
ปรับปรุงพันธุ์พืชภาครัฐต้องทางานวิจัยร่วมกับ กลุ่มเกษตรกรให้มากขึ้น เพื่อให้เกิดความสมดุลกับพันธุ์ลูกผสม
ของภาคธุรกิจเอกชนตามหลักของความได้สัดส่วน (Principle of Proportionality) โดยต้องให้การคุ้มครอง
สิทธินักปรับปรุงพันธุ์พืชกระทบสิทธิของเกษตรกรในระดับพอประมาณเท่านั้น โดยเคยมีรายงานผลงานวิจัย
ใน พ.ศ. ๒๕๔๘ ว่าต้องมี สั ดส่ วนงบประมาณด้านการวิจัยและพั ฒ นาต่อ GDP สู งกว่าร้อยละ ๑๐.๙ ทั้ งนี้
จะต้องเชื่อมโยงกระบวนการทางานในภารกิจการผลิตพันธุ์พืชแบบครบวงจรทั้งระบบ โดยกรมวิชาการเกษตร
๓๗

และหน่วยงานอื่นที่ดาเนินการโครงการปรับปรุงพันธุ์พืช การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานพันธุ์พืช เพื่อผลิต


เมล็ดพันธุ์คัด และเมล็ดพันธุ์หลัก เพื่อให้มีเมล็ดพันธุ์ขยายในจานวนที่พอเพียงต่อความต้องการของกรมส่งเสริม
การเกษตรในการน าไปเผยแพร่ แก่ เกษตรกร (รายละเอี ยดส าหรั บ กรณี ของข้ าว ปรากฏในภาคผนวก ฌ)
ตามแผนย่ อยเกษตรอัจฉริยะและแผนย่ อยระบบนิเวศการเกษตร ของแผนแม่ บทประเด็นการเกษตร ภายใต้
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(๒.๔) รัฐบาลควรต้องจัดสรรงบประมาณให้กองทุนคุ้มครองพันธุ์พืชหลังจาก
การด าเนิ น งานตามข้อ (๒.๒) เพื่ อให้ อุด หนุ น ชุ ม ชนตามพระราชบั ญ ญั ติคุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช กลุ่ ม เกษตรกร
และสหกรณ์ ก ารเกษตร ที่ ต้ อ งการด าเนิ น งานกิ จ กรรม/โครงการอนุ รักษ์ แ ละพั ฒ นาพั น ธุ์พื ช โดยภาครั ฐ
อาจร่ ว มกั บ ภาคเอกชน สนั บ สนุ น ให้ ค วามรู้ ในการพั ฒ นาพั น ธุ์ พื ช แก่ เกษตรกรอย่ างเป็ น ระบบ อั น เป็ น
การส่ งเสริ ม การท าเกษตรยั่ งยื น ตามแผนย่ อ ยเกษตรชี ว ภาพ ของแผนแม่ บ ทประเด็ น การเกษตร ภายใต้
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(๒.๕) รั ฐ บาลควรต้ อ งก าหนดให้ ห น่ ว ยงานของรั ฐ พึ ง จั ด ซื้ อ เมล็ ด พั น ธุ์
ประเภทที่ เกษตรกรสามารถน าไปขยายพั น ธุ์ เพื่ อ ใช้ ป ลู ก ในแปลงของตนเองได้ เช่ น พั น ธุ์ผ สมเปิ ด พั น ธุ์
สังเคราะห์ ตลอดจนสายพันธุ์บริสุทธิ์/สายพันธุ์แท้ เพื่อแจกจ่ายแก่เกษตรกร ซึ่งจะทาให้เกษตรกรสามารถเก็บ
เมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ในแปลงของตนเองได้อย่างยั่งยืน ตามแผนย่อยเกษตรชีวภาพของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร
ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี โดยต้องประกาศล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ ปี เพื่อให้ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย
มีเวลาเพียงพอในการปรับตัวพัฒนาพันธุ์พืชประเภทดังกล่าว
(๒.๖) รัฐบาลต้องสนับสนุน งบประมาณเพื่อพัฒนาเครือข่ายการดาเนินงาน
ของศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชชุมชนให้เป็นไปตามข้อกาหนดของพระราชบัญญัติพันธุ์พืชได้อย่างยั่งยืน และมีพื้นที่
การผลิตพันธุ์พืชตามศักยภาพท้องถิ่นกระจายให้ครอบคลุมทั้งประเทศ ในการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ซึ่งได้รับ
จากกรมวิชาการเกษตรและหน่วยงานอื่นที่ ดาเนินการโครงการปรับปรุงพันธุ์พืช (ผ่านกรมส่งเสริมการเกษตร)
โดยต้องสนับสนุนงบประมาณดาเนินการ และเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์อย่างเพียงพอในการปรับปรุงสภาพพันธุ์พืช
การตรวจสอบคุณ ภาพและมาตรฐานพันธุ์พืช เพื่อผลิ ตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย รวมทั้งต้องถ่ายทอดเทคโนโลยี
และความรู้ด้านการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชที่เป็นพันธุ์ผสมเปิด พันธุ์สังเคราะห์ ตลอดจนสายพันธุ์บริสุทธิ์/สายพันธุ์แท้
ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน เพื่อให้เกษตรกรมีอิสระในการเลือกใช้เมล็ดพันธุ์อย่างแท้จริง ไม่จาเป็นต้องพึ่งพา
เมล็ดพันธุ์จากบริษัท ตามแผนย่อยเกษตรแปรรูปของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ
๒๐ ปี
(๒.๗) รัฐ บาลควรสนับ สนุน อานวยความสะดวกแก่ภ าคธุรกิจการพัฒ นา
อุตสาหกรรมการผลิตเมล็ดพันธุ์ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้นของโลก (จากขณะนี้
ที่เป็น ผู้ส่งออกเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้นเป็นอันดับที่ ๑ ในเอเชียแปซิฟิก) จากข้อได้เปรียบด้านภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ และฝีมือแรงงานด้านการเกษตร เพื่อยกระดับรายได้แก่เกษตรกรตามแผนย่อยเกษตรแปรรูปของ
แผนแม่บทประเด็นการเกษตร ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(๒.๘) รัฐ บาลต้ อ งรีบ ฟื้ น ฟู ศู น ย์ ข ยายพั น ธุ์พื ช ในสั งกัด กองขยายพั น ธุ์พื ช
กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร ให้ มี จ านวนและขี ด ความสามารถเพี ย งพอในการผลิ ต และเผยแพร่ เมล็ ด พั น ธุ์ -
ส่วนขยายพันธุ์ของพืชสาคัญ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ถั่ว ผักชนิดต่าง ๆ ให้แก่กลุ่มเกษตรกรที่ทาเกษตรยั่งยืน
และน้ อ มน าหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาประยุ ก ต์ ใช้ โดยจะต้ อ งได้ รั บ งบประมาณด าเนิ น การ
และเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์อย่างเพียงพอในการปรับปรุงสภาพพันธุ์พืช การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
๓๘

พันธุ์พืชเพื่อสามารถรับเมล็ดพันธุ์ขยายจากกรมวิชาการเกษตร มาผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ตามแผนย่อย


เกษตรชีวภาพ ของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(๒.๙) รัฐบาลควรต้องเร่งรัดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการจัดทาระบบ
ฐานข้อมูลพันธุ์พืชทั้งหมดของประเทศไทยในระดับพันธุ์ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์เพียงพอ โดยเร่ง ขึ้นบัญชีพันธุ์พืช
ท้องถิ่น ตามแผนย่อยระบบนิ เวศการเกษตรของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร ภายใต้ แผนยุทธศาสตร์ชาติ
๒๐ ปี ซึ่ งจะเป็ น สิ่ งส าคัญ ยิ่ งต่อ การสื บ ค้ น ส าหรับ ขั้น ตอนการเปรียบเที ยบพั น ธุ์ใหม่ ที่ ยื่ น ขอจดทะเบี ย น
รับความคุ้มครองกับพันธุ์ที่ปรากฏอยู่ก่อน
(๒.๑๐) รัฐบาลควรต้องสร้างระบบและกลไก ตลอดจนหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ในการติดตามตรวจสอบ และคัดค้านการนาพันธุ์พืช พื้นเมืองและพันธุ์พื ชป่าของไทยไปยื่นขอจดทะเบียน
รับความคุ้มครองเป็นพันธุ์ใหม่ในต่างประเทศ โดยต้องมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงานอย่างต่อเนื่องทุกปี
ตามแผนย่อยระบบนิเวศการเกษตรของแผนแม่บทประเด็นการเกษตร ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(๒.๑๑) รัฐบาลควรเร่งรัดให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จัดทากฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน
และมีผลบังคับ ใช้ ตั้งแต่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๗ เพื่อให้มีระบบ กลไก และมาตรการบังคับให้ผู้ต้องการเข้าถึง
ทรัพยากรชีวภาพทุกชนิดของประเทศ เพื่อนาไปใช้ในการศึกษา ทดลอง และวิจัย ต้องขออนุญาตล่วงหน้า
และท าข้อตกลงแบ่ งปั นผลประโยชน์ ซึ่ งจะท าให้ การกากั บดู แลการเข้ าถึ งทรัพยากรชี วภาพ เป็ นไปอย่ างมี
ประสิทธิภาพ
(๒.๑๒) รัฐบาลควรแจ้งสานักงานสหภาพ UPOV ถึงการนาชื่อประเทศไทย
ใส่ ในเว็ บ ไซต์ ข องสหภาพฯ โดยระบุ ในรายชื่ อ ประเทศซึ่ งเคยมี ก ารติ ด ต่ อ กั บ ส านั ก งานสหภาพฯ เพื่ อ รั บ
ความช่วยเหลือในการจัดทากฎหมายบนพื้นฐานของอนุสัญญา UPOV เนื่องจากประเทศไทยไม่เคยติดต่อขอรับ
ความช่วยเหลือจากสหภาพ UPOV ในการจัดทากฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช การกระทาดังกล่าวนอกจากจะเข้าข่าย
การหาประโยชน์เชิงประชาสัมพันธ์โดยมิชอบของสหภาพ UPOV จากชื่อและความน่าเชื่อถือของประเทศไทย
ซึ่ ง Sustainability Toolkit for Trade Negotiators ที่ ร่ ว มกั น จั ด ท าและดู แ ลโดย UNEP and IISD ว่ าข้ อ บท
ในกฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชของประเทศไทยเอื้อต่อระบบเกษตรกรรมยั่งยืนแล้ ว ยังสร้างความสับสนต่อมิตร
ประเทศของประเทศไทยอีกด้วย
(๒.๑๓) รัฐ บาลควรบั งคั บ ใช้ ม ติ ค ณะรั ฐ มนตรี แ ละกฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ ง
อย่างเข้มงวด เพื่อให้ประเทศไทยยังไม่มีการปลูกพืชที่เป็น GMOs ต่อไป ไม่ว่าประเทศไทยจะเข้าร่วมความตกลง
เปิ ด เขตการค้ าเสรี ห รื อ ไม่ เพื่ อ ให้ ป ระเทศไทยเป็ น แหล่ งผลิ ต ด้ านการเกษตรที่ ป ราศจาก GMOs ซึ่ งเป็ น
ที่ต้องการของผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อสูงในตลาดโลก
๔.๔ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข
๔.๔.๑ ภาพรวมผลการพิจารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการสรุปว่า การเข้าร่วมเจรจาความตกลง CPTPP ขึ้นกับความพร้อม
และการเตรี ย มการภายในประเทศ โดยเห็ น ว่ า ประเทศไทยยั งต้ องมี การเตรี ยมความพร้อ มในหลายด้ าน
ซึ่งจาเป็นที่รัฐบาลจะต้องให้การสนับสนุน ทั้งนี้ ในการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย คณะกรรมาธิการเห็นว่า
ควรต้องมีข้อพิจารณา ดังนี้
(๑) รัฐบาลต้องมีข้อมูลที่เพียงพอเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายทั้งด้านบวก
ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นจากผลกระทบด้านลบ การดาเนินการที่จะทาให้อุตสาหกรรมในประเทศสามารถ
๓๙

แข่งขันและใช้ประโยชน์จากข้อกาหนดของความตกลง และผลประโยชน์ด้านการสาธารณสุขของประชาชน
ที่อาจถูกกระทบจากความตกลง
(๒) การเจรจาของรั ฐ บาล ควรมี ก รอบการเจรจาที่ เกิ ด จากกระบวนการรั บ ฟั ง
ความคิ ดเห็ นของประชาชน โดยเฉพาะในประเด็ นอ่ อนไหว ซึ่ งหากเจรจาไม่ ได้ ตามที่ ระบุ ไว้ ก็ไม่ ควรเข้ าร่วม
เป็นภาคีความตกลง
(๓) รั ฐ บาลจะต้ อ งผลั ก ดั น ให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง กองทุ น ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบ
จากการเปิดเสรีการค้า ที่มีการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๔.๒ ผลการพิจารณาศึกษาประเด็นสาคัญ ๑๑ เรื่อง
๑) ยา (รวมวัคซีน และชีววัตถุ)
เพื่อให้ เห็ นภาพรวมผลกระทบของความตกลง CPTPP แต่ละข้อบทต่อห่วงโซ่
คุณค่าของยา จึงขอนาเสนอประเด็นโดยสรุปดังภาพที่ ๑ ซึ่งยามีจุดเริ่มต้นจากแหล่งความรู้ของยา (ในที่นี้รวมถึง
วัคซีน และชีววัตถุ) คือ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแพทย์แผนไทย และสมุนไพรไปสู่การค้นคว้าวิจัยและพัฒนา
การศึก ษาทดลองทางห้ อ งปฏิ บั ติก าร การวิจั ยทางคลิ นิ กในมนุ ษ ย์ จนกระทั่ งได้ ยาใหม่ (ในขณะเดีย วกั น
จะมีขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาเพื่อให้ได้ยาชื่อสามัญ)๑ ที่มีการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (สิทธิบัตร) โดยให้
สิทธิแต่เพีย งผู้เดีย วแก่เจ้ าของสิท ธิบั ตรที่มีผลต่อการผู กขาดและที่มีผลต่อการเข้าสู่ ตลาดของยาชื่ อสามัญ
ขั้นตอนต่อมา ยาจะต้องขึ้นทะเบียนยากับสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ซึ่งเป็นกระบวนการ
ควบคุมยาก่อนออกจาหน่ายที่พิจารณาด้านความปลอดภัย (safety) ประสิทธิผล (efficacy) และการรับรอง
คุณภาพ (quality) ของผลิตภัณฑ์ ก่อนได้รับการอนุมัติให้สามารถออกจาหน่ายได้ ในขณะเดียวกัน อย. จะต้องมี
กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภคด้วย เมื่อยาได้รับอนุญาตแล้ว จึงเข้าสู่กระบวนการนาเข้าเพื่อจาหน่าย นาเข้า
เพื่ อส่ งออก ผลิ ตเพื่ อจ าหน่ าย หรือผลิ ตเพื่ อส่ งออก และในขั้นตอนสุ ดท้ ายจะเข้ าสู่ การบริหารจัดการเพื่ อไป
สู่ประชาชนหรือผู้ป่วยที่ต้องใช้ยา เป็นวัฏจักรของการบริหารเวชภัณฑ์ของหลักประกันสุขภาพ และสถานพยาบาล
ต่าง ๆ ซึ่งวัฏจักรนี้ประกอบด้วยการคัดเลือก การจัดหา การกระจาย และการใช้ยา
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักในห่วงโซ่คุณค่าของยา เช่น
(๑) กลุ่มนักวิจัยไทย เช่น นักวิจัยด้านผลิตภัณฑ์ นักวิจัยด้านการศึกษาทดลอง
ทางคลินิกชาวไทย
(๒) ภาคเอกชน เช่น อุตสาหกรรมผู้ผลิต -ส่งออกสมุนไพร อุตสาหกรรมผลิตยา
ชื่อสามัญ องค์การเภสัชกรรม สภากาชาดไทย และโรงงานเภสัชกรรมทหาร ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ ผู้ให้บริการ
(รับจ้าง) ในสถานพยาบาล และบริษัทยาข้ามชาติ
(๓) หน่ ว ยงานภาครั ฐ เช่ น ส านั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
กรมบัญชีกลาง (จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ) สวทช. และสานักงบประมาณ สถานพยาบาล กรมบัญชีกลาง (สวัสดิการ
ค่ารักษาพยาบาล) สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สานักงานประกันสังคม
(๔) ผู้ให้บริการ เช่น บุคลากรสาธารณสุข และสภาวิชาชีพ
(๕) ประชาชน (ผู้ป่วยที่ต้องใช้ยา)


มีองค์การเภสัชกรรม สภากาชาดไทย โรงงานเภสัชกรรมทหาร อุตสาหกรรมผลิตยาชื่อสามัญในประเทศ และอุตสาหกรรม
ผลิตยาชื่อสามัญจากต่างประเทศ เป็นผู้ดาเนินการ
๔๐

ภาพที่ ๑ กรอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาผลกระทบจากการเข้าร่วมความตกลง
ที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ประเด็นยา (รวมวัคซีนและชีววัตถุ)
หมายเหตุ กล่องข้อความที่เป็นเส้นประ เป็นประเด็นภายใต้ความตกลง TPP ที่ถูกระงับในความตกลง CPTPP

สาหรับ ความตกลง CPTPP มีข้อบทที่มีความเกี่ยวเนื่องกับตัวผลิ ตภั ณ ฑ์ (ยา)


และกระบวนการควบคุมกากับ การผลิต/การนาเข้า การจัดหายาเพื่อบริการในบทที่ ๒ (การประติบัติเยี่ยงคนชาติ
และการเข้าสู่ตลาดสินค้า) บทที่ ๓ (กฎว่าด้วยถิ่นกาเนิดสินค้าและกระบวนการผ่านเกณฑ์ถิ่นกาเนิดสินค้า) บทที่ ๘
(อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า) บทที่ ๙ (การลงทุน) บทที่ ๑๐ (การค้าบริการข้ามพรมแดน) บทที่ ๑๔ (พาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์) บทที่ ๑๕ (การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ) บทที่ ๑๘ (ทรัพย์สินทางปัญญา) บทที่ ๒๖ (ความโปร่งใส
และการต่อต้านคอร์รัปชั่น) และบทที่ ๒๘ (การระงับข้อพิพาท) สาหรับบทที่ ๒๙ (ข้อยกเว้นและบทบัญญั ติ
ทั่วไป) ซึ่งบทนี้เป็นบทที่กาหนดข้อยกเว้นบางประการที่มีความเกี่ยวข้องกับมาตรการต่าง ๆ ของการสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการได้พิจารณารายละเอียดต่าง ๆ โดยมีผ ลการพิจารณาพร้อม
ความเห็นและข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล จานวน ๔ ประเด็น ดังนี้
๔๑

(๑) ประเด็นด้านการรับฝากจุลชีพ
ปัจจุบัน สิ่งที่สามารถจดสิทธิบัตรในประเทศไทยได้ตามที่ระบุในพระราชบัญญัติ
สิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. ๒๕๔๒ นั้น ยังไม่รวมจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ๒ และ
ประเทศไทยยังไม่ได้เข้าร่วมในสนธิสัญญาบูดาเปสต์ (Budapest Treaty)
ความตกลง CPTPP กาหนดให้ประเทศภาคีสมาชิกจะต้องเข้าร่วมความตกลง
ระหว่างประเทศทั้งหมด ๕ ฉบับ โดยหนึ่งในนั้นคือ มาตรา ๑๘.๗.๒ (b) สนธิสัญญาบูดาเปสต์ (Budapest
Treaty) ซึ่งเป็นสนธิสัญญาฯ ที่ว่าด้วยเรื่องการรับฝากจุลชีพเพื่อประกอบกระบวนการจดสิทธิบัตรในประเทศ
ต่าง ๆ ซึ่งอานวยความสะดวกให้ผู้ขอจดสิทธิบัตรไม่ต้องนาจุลชีพนั้นไปแสดงพร้อมการขอจดสิทธิบัตร แต่ใช้
ใบรับรองจากสถาบันรับฝากจุลชีพนานาชาติ (International Depositary Authority : IDA) แทน ทั้งนี้ IDA
จะต้องได้มาตรฐานตามข้อกาหนด ประเทศที่เข้าร่วมสนธิสัญญาบูดาเปสต์ไม่จาเป็นต้องมี IDA เป็นของตนเอง
นอกจากนี้กฎระเบียบ (regulations) ข้อ ๙.๒ ภายใต้สนธิสัญญาบูดาเปสต์ยังกาหนดให้ IDA ทาการเก็บรักษา
ข้อมูลจุลชีพที่รับฝากไว้เป็นความลับ
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
กรมทรัพ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ชี้ แ จงว่ า ประเทศไทยมี ม าตรการและระบบ
ภายในประเทศที่ ส อดคล้ องกั บ Budapest Treaty อยู่แ ล้ ว จึงไม่ ต้อ งปรับ ปรุงหรือเปลี่ ย นแปลงกฎหมาย
ภายในประเทศ แต่ยังต้องดาเนินการเพื่อยื่นภาคยานุวัติสารในการเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาดังกล่าวต่อไป
ประเด็นที่ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุขกังวลนั้น เกี่ยวกับขีดจากัด
ความสามารถในการยกระดับสถาบันรับฝากเก็บจุลชีพภายในประเทศให้เป็น IDA กรมทรัพย์สินทางปัญญา
ให้ข้อมูลว่า จากการประชุมร่วมกับหน่วยงานด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยในเรื่องนี้ มีบางหน่วยงาน
เช่ น สถาบั น วิจั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ งประเทศไทย (วว.) ส านั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์แ ละ
เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (วพ.) ได้แสดงความสนใจและสอบถามข้อมูล
เกี่ยวกับการที่จะเป็น IDA อย่างไรก็ดี Budapest Treaty และความตกลง CPTPP มิได้บังคับให้รัฐภาคีจะต้อง
ยกระดับสถาบันรับฝากเก็บจุลชีพภายในประเทศให้ เป็น IDA แต่หากสามารถจัดตั้ง IDA ภายในประเทศได้
จะทาให้ศักยภาพด้านความมั่นคงทางชีวภาพและความปลอดภัยทางชีวภาพโดยรวมดีขึ้น
คณะกรรมาธิการมีความเห็นว่า ควรมีการเร่งพัฒนากฎหมายภายในประเทศ
เพื่อกาหนดให้ผู้ที่ต้องการขอขึ้นทะเบียนยาที่มีส่วนประกอบของจุลชีพ หรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา
ที่เกี่ยวกับจุลชีพต้องสาแดงแหล่งที่มาร่วมด้วยให้เร็วที่สุด เพื่อคุ้มครองจุลชีพจากแหล่งต้นกาเนิดภายในประเทศ
ไม่ให้มีการนาไปจดสิทธิบัตรเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคล และใช้สิทธิแต่เพียงผู้เดียวได้


มาตรา ๙ การประดิษฐ์ดังต่อไปนีไ้ ม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติ
(๑) จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติสตั ว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืช
(๒) กฎเกณฑ์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (๓) ระบบข้อมูลสาหรับการทางานของเครือ่ งคอมพิวเตอร์
(๔) วิธีการวินิจฉัย บาบัด หรือรักษาโรคมนุษย์ หรือสัตว์ (๕) การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี
อนามัยหรือสวัสดิภาพของประชาชน
๔๒

(๒) ประเด็นด้านการเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (patent


linkage)
ปัจจุบัน ระบบสิทธิบัตรรับผิดชอบโดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวง
พาณิชย์ และการขึ้นทะเบียนตารับยาซึ่งรับผิดชอบโดย อย. กระทรวงสาธารณสุขที่มิได้มีการเชื่อมโยงกระบวนการ
หรือข้อมูลร่วมกัน อย่างไรก็ดี มาตรา ๘๐ ของพระราชบัญญัติยา พ.ศ. ๒๕๑๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๖
พ.ศ. ๒๕๖๒ กาหนดว่า ให้การขอขึ้น ทะเบียนตารับยาจะต้องมีเอกสารแสดงเลขที่คาขอรับสิทธิบัตร หรือ
อนุสิทธิบัตรที่ประกาศโฆษณาแล้ว ทั้งนี้เพื่ออานวยความสะดวกในการค้นหาสิทธิบัตรที่ถูกต้องและศึกษาข้อถือ
สิทธิให้ชัดเจนก่อนที่อุตสาหกรรมยาชื่อสามัญ (generic drug) จะดาเนินการ เพื่อไม่ให้เกิดการละเมิดสิทธิ
โดยมิ ได้ เจตนาในสภาพปั จ จุ บั น เมื่ อ มี ผู้ ล ะเมิ ด สิ ท ธิบั ต รยา ผู้ ท รงสิ ท ธิในสิ ท ธิบั ต รยาด าเนิ น การทางศาล
ต่อผู้ทาละเมิดได้ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยไม่มี
ผลกระทบต่อการดาเนินการขึ้นทะเบียนยาของ อย. ซึ่งในส่วนการขึ้นทะเบียนยานั้น พระราชบัญญัติสิทธิบัตร
พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่ แก้ ไขเพิ่ ม เติ ม ถึ งฉบั บ ที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ ผู้ ผ ลิ ต ยาชื่ อ สามั ญ (generic drug) ขอขึ้ น
ทะเบียนยาได้ก่อนสิทธิบัตรยาจะสิ้นอายุลง แต่จะวางจาหน่ายยาชื่อสามัญนั้นได้ต่อเมื่อสิทธิบัตรยานั้นสิ้นอายุลง
แล้วเท่านั้น ในทางปฏิบัติ ส่วนใหญ่ผู้ผลิตยาชื่อสามัญจะขึ้นทะเบียนยาเมื่อสิทธิบัตรยาใกล้จะสิ้นอายุ และพร้อม
จะวางจ าหน่ ายหลังสิทธิบั ตรยาสิ้น อายุทันที เพื่อประโยชน์สู งสุ ดทางการตลาดและพร้อมจะออกจาหน่าย
ได้ทันทีเมื่อสิทธิบัตรหมดอายุ อย่างไรก็ตาม พบว่า ยาหนึ่งรายการมีสิทธิบัตรมากกว่า ๑ ฉบับ ที่มีอายุสิ้นสุด
สิทธิบัตรที่ต่างกัน นอกจากนี้เคยมีกรณีที่ผู้ผลิตยาชื่อสามัญและสถานพยาบาลได้รับคาเตือน (notice) และ/
หรือถูกฟ้องร้องดาเนินคดีภายใต้สภาพการณ์ปัจจุบัน
ความตกลง CPTPP ได้กาหนดเรื่อง patent linkage ไว้ในมาตรา ๑๘.๕๓๓
ซึง่ คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้


Article 18.53: Measures Relating to the Marketing of Certain Pharmaceutical Products
1. If a Party permits, as a condition of approving the marketing of a pharmaceutical product, persons,
other than the person originally submitting the safety and efficacy information, to rely on evidence
or information concerning the safety and efficacy of a product that was previously approved, such as
evidence of prior marketing approval by the Party or in another territory, that Party shall provide:
(a) a system to provide notice to a patent holder1 or to allow for a patent holder to be notified prior to
the marketing of such a pharmaceutical product, that such other person is seeking to market that product
during the term of an applicable patent claiming the approved product or its approved method of use;
(b) adequate time and opportunity for such a patent holder to seek, prior to the marketing 2 of an
allegedly infringing product, available remedies in subparagraph (c); and
(c) procedures, such as judicial or administrative proceedings, and expeditious remedies, such as
preliminary injunctions or equivalent effective provisional measures, for the timely resolution
of disputes concerning the validity or infringement of an applicable patent claiming an approved
pharmaceutical product or its approved method of use.
2. As an alternative to paragraph 1, a Party shall instead adopt or maintain a system other than judicial
proceedings that precludes, based upon patent-related information submitted to the marketing approval
authority by a patent holder or the applicant for marketing approval, or based on direct coordination
between the marketing approval authority and the patent office, the issuance of marketing approval to
๔๓

(๑) ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุขมีความกังวลว่า ข้อบทในความตกลง


CPTPP บางข้อบทอาจเป็นช่องทางให้บริษัทยาต้นแบบ (original drug) สามารถใช้สิทธิทางศาลขอให้มีคาสั่งใด ๆ
ได้ก่อนความคุ้มครองตามสิทธิบัตรจะสิ้นสุดลง โดยเฉพาะในช่วงที่บริษัทยาชื่อสามัญ (generic drug) ได้ยื่น
คาขอขึ้นทะเบียนตารับยามายังสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ซึ่ง อย.จะต้องแจ้งเรื่องการขึ้น
ทะเบียนยาชื่อสามัญให้กับบริษัทยาต้นแบบทราบ ทั้งนี้ เห็นว่าการยื่นขึ้นทะเบียนยาชื่อสามัญไม่เป็นการกระทา
ที่ขัดต่อมาตรา ๓๖ ประกอบมาตรา ๓๕ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และไม่ถือว่าเป็นการกระทา
ละเมิดต่อผู้ทรงสิทธิ กระนั้น อาจส่งผลให้เกิดการใช้สิทธิทางศาลโดยไม่สุจริตและร้องขอให้ศาลมีคาสั่งคุ้มครอง
ชั่วคราว ซึ่งอาจส่งผลให้บริษัทยาชื่อสามัญไม่สามารถนายาออกสู่ตลาดได้ หรือยาชื่อสามัญอาจไม่นายาออก
สู่ตลาดด้วยความกังวลต่ออรรถคดี เนื่องจากระยะเวลาการพิสูจน์การละเมิดสิทธิบัตรอาจใช้ระยะเวลาหลายปี
อาทิ ๕ ถึง ๑๐ ปี ซึ่งอาจทาให้ประชาชนเข้าถึงยาชื่อสามัญได้ช้าลง ยาต้นแบบซึ่งราคาสูงยังคงผูกขาดตลาดอยู่
ทาให้ ไม่ส ามารถน าเข้ าสู่ บั ญ ชีย าหลั กแห่ งชาติ และระบบหลั กประกัน สุ ขภาพของประเทศได้ จนกว่าจะมี
ยาชื่อสามัญออกมาสู่ตลาด
(๒) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เห็นว่า การเชื่อมโยงสิทธิบัตร
กับการขึ้นทะเบียนตารับยา (patent linkage) มีเป้าหมายหรือเจตนารมณ์ในการยับยั้งหรือชะลอกระบวนการ
ที่ย าชื่อสามัญจะเข้าสู่ ตลาด โดยการใช้สิ ทธิทางศาล อาทิ การขอให้ มีการคุ้มครองชั่วคราว หรือกลไกทาง
บริหารในระหว่างการขึ้นทะเบียนยาชื่อสามัญ จึงเห็นควรทาความเข้าใจและตีความหมายตามข้อบทที่เกี่ยวข้อง
กับประเด็นดังกล่าวอย่างถ่องแท้และถูกต้อง ก่อนที่จะออกแบบระบบการดาเนินการที่จะช่วยลดผลกระทบหรือ
ป้องกันผลกระทบทางลบที่อาจจะเกิดขึ้น
ข้อ บทเรื่อ งการเชื่ อ มโยงสิ ท ธิ บั ต รกับ การขึ้ น ทะเบี ย นต ารับ ยา (patent
linkage) เพิ่ ม ข้ อจ ากัด แก่ อย. ในการขึ้ น ทะเบี ย นยา ซึ่ งในกรณี ที่ ยานั้ น อยู่ ภ ายใต้ สิ ท ธิบั ต รยาหลายฉบั บ
และอายุสิ้นสุดของสิทธิบัตรแต่ละฉบับแตกต่างกัน จะยิ่งส่งผลกระทบต่ออานาจหน้าที่ของ อย. ในการชะล อ
การขึ้นทะเบียนยาชื่อสามัญให้ต้องล่าช้าออกไป รวมทั้งอาจเพิ่มข้อจากัดในการดาเนินการของผู้ผลิตยาชื่อ
สามัญในกรณีที่ผู้ทรงสิทธิบัตรใช้สิทธิออกหนังสือเตือนผู้ผลิตยาสามัญว่าละเมิดสิทธิบัตร
(๓) กรมทรัพย์สินทางปัญญา เห็นว่า ตามความตกลง CPTPP มีความยืดหยุ่น
โดยมี ๒ ทางเลือก ซึ่งมีหลักการ ดังนี้
ก. การแจ้งเจ้าของสิทธิบัตรให้ทราบเกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนยาสามัญ
และจัดให้มีกระบวนการเยียวยาความเสียหาย (Notification and Remedies)

any third person seeking to market a pharmaceutical product subject to a patent claiming that product,
unless by consent or acquiescence of the patent holder.
1
For greater certainty, for the purposes of this Article, a Party may provide that a “patent holder”
includes a patent licensee or the authorised holder of marketing approval.
2
For the purposes of paragraph 1(b), a Party may treat “marketing” as commencing at the time
of listing for purposes of the reimbursement of pharmaceutical products pursuant to a national healthcare
programme operated by a Party and inscribed in the Appendix to Annex 26-A (Transparency and
Procedural Fairness for Pharmaceutical Products and Medical Devices).
๔๔

ข. การระงับการพิจารณาอนุญาตขึ้นทะเบียนยาสามัญ (Preclusion
of the Issuance of Marketing Approval)
ประเทศภาคีสามารถกาหนดทางเลือกตามมาตรา ๑๘.๕๓ และกลไกที่เห็นว่า
เหมาะสมกับบริบทภายในประเทศของตนเองได้ อาทิ การแจ้งหรือการเปิดโอกาสให้บริษัทยาต้นแบบทราบถึง
การขอขึ้นทะเบียนตารับยา อาจดาเนินการโดยการนาคาขอขึ้นทะเบียนตารับยาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ เพื่อให้
เป็ น ภาระต่อหน่ วยงานที่รับ ขึ้น ทะเบี ย นตารับยาน้อยที่ สุด และจัดให้ มี กระบวนการเยียวยาความเสี ยหาย
แก่เจ้าของสิทธิ โดยไม่ต้องมีการระงับหรือหยุดกระบวนการขึ้นทะเบียนตารับยาชื่อสามัญได้ ซึ่งปัจจุบันการขอ
ให้ คุ้ ม ครองชั่ ว คราวเป็ น กระบวนการที่ ผู้ ท รงสิ ท ธิ บั ต รมี สิ ท ธิ ที่ จ ะด าเนิ น การได้ ต ามกรอบแห่ งกฎหมาย
ภายในประเทศ แต่หากมีการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตก็อาจนาไปสู่ความรับผิดตามกฎหมาย
(๔) คณะกรรมาธิการ เห็นว่า การเข้าร่วมความตกลง CPTPP ทาให้ประเทศไทย
จะต้องสร้างกระบวนการเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (patent linkage) และจะต้องเกิด
การทางานร่วมกันโดย อย. และกรมทรัพย์สินทางปัญญา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกจากนี้ กระบวนการ patent
linkage ซึ่งส่ งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมยาและภาคสาธารณสุ ข แต่ ยั งไม่ ปรากฏข้อยุติในเรื่องขนาดของ
ผลกระทบทั้งทางด้านการขึ้นทะเบียนตารับยา การเข้าถึงยาของประชาชน และอุตสาหกรรมยาชื่อสามัญของไทย
ตลอดจนกระบวนการในการเยียวยาต่อผู้ได้รับผลกระทบ ซึ่งมีความจาเป็นที่จะต้องมีการศึกษาต่อไป
(๓) ประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Government Procurement) ที่เกี่ยวกับ
สาธารณสุข
ปัจจุบัน การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐจะเกี่ยวข้องกับทุกผลิตภัณฑ์และทุกประเภท
การจ้างของหน่วยงานรัฐด้านสาธารณสุข โดยจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหาร
พัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ อย่างไรก็ตาม ประเด็นสาคัญในส่วนที่เกี่ยวกับยาจะเกี่ยวกับพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริม
หรือสนับสนุน ซึ่งมีอยู่ ๒ ประการ คือ
(๑) พัสดุส่งเสริมสุขภาพและสาธารณสุข เช่น ยาในบัญชียาหลักแห่ งชาติ
ที่องค์การเภสัชกรรม สภากาชาดไทย โรงงานเภสัชกรรมทหาร ผลิตและ/หรือจาหน่าย ผลิตภัณฑ์ที่สภากาชาด
ไทยผลิต และวัคซีนที่ผลิตในประเทศ
(๒) พัสดุส่งเสริมนวัตกรรม๔ เพื่อช่วยส่งเสริม ผลักดันขีดความสามารถด้าน
การวิจัยและพัฒนายา รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ดาเนินการโดยหน่วยงานรัฐและภาคเอกชนของไทย (องค์การ
เภสัชกรรม สภากาชาดไทย และโรงงานเภสัชกรรมทหาร และอุตสาหกรรมผู้ผลิตยาในประเทศ โดยให้สิทธิ
พิ เศษกั บ ผู้ ผ ลิ ต ไทย ซึ่ งมี น วัต กรรมที่ ได้ขึ้ น บั ญ ชี ไว้ด้ว ยวิธีก ารซื้ อเฉพาะเจาะจงหรือ วิธีคั ดเลื อ ก พร้อ มทั้ ง
การกาหนดสัดส่วนมูลค่าการซื้อ ซึ่งจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ของแผนความต้องการนวัตกรรมทั้งหมดของ
หน่วยงาน
ความตกลง CPTPP บทที่ ๑๕ กาหนดให้ ป ฏิ บั ติกั บ ผู้ จั ดจ าหน่ าย/ผู้ ผ ลิ ต
ในประเทศและจากประเทศภาคีสมาชิกเท่าเทียมกัน หากโครงการนั้น ๆ มีมูลค่าสูงกว่ามูลค่าขั้นต่าที่กาหนด
ซึ่งจะมีผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยาในประเทศ องค์การเภสัชกรรม สภากาชาดไทย และโรงงานเภสัชกรรม
ทหาร ทั้งนี้เนื่องจากขีดความสามารถในการแข่งขันที่แตกต่างกันกับอุตสาหกรรมยาในต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม


พัสดุส่งเสริมนวัตกรรม หมายความว่า สินค้าหรือบริการที่มีรายชื่อตามบัญชีนวัตกรรมไทยของสานักงบประมาณ แต่ไม่
หมายความรวมถึงผลิตภัณฑ์ยาหรือเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาตามหมวด ๕ ซึ่งได้ขึ้นบัญชีนวัตกรรมไทย (กฎกระทรวงกาหนดพัสดุ
และวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน พ.ศ. ๒๕๖๓)
๔๕

CPTPP ได้กาหนดให้ ป ระเทศสมาชิก สามารถกาหนดหน่ วยงานของรัฐ ที่จะต้องดาเนิ นการตามข้อกาหนด


ผลิตภัณฑ์ และมูลค่าขั้นต่าของโครงการ และกาหนดเวลาปรับตัว (transition period) ที่แตกต่างกันได้ผ่าน
การเจรจากับประเทศสมาชิก CPTPP
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
องค์การเภสั ชกรรมได้ให้ ข้อมูล ว่า สิ ทธิประโยชน์ขององค์การเภสัช กรรม
(GPO) ที่ได้รับ จากประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการจัดซื้อจัดจ้างยาของภาครัฐตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ย่อมถูกกระทบสิทธิจากการที่ ประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP เนื่องจากไม่ได้รับการยกเว้น เพราะมิใช่
ธุรกิจที่ผูกขาด (monopoly) ภาคเอกชนได้ให้ข้อมูลว่า แม้ในปัจจุบันองค์การเภสัชกรรมจะได้รับสิทธิต่าง ๆ
ในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งของภาครั ฐ ก็ ต าม แต่ ค วรเป็ น การร่ ว มมื อ ระหว่ า งองค์ ก ารเภสั ช กรรมและบริษั ท ยา
ในประเทศ เพื่อสร้างความมั่นคงของอุตสาหกรรมทางยาของประเทศไทย
องค์การเภสัชกรรมได้ให้ ข้อมูลเพิ่มเติมว่า เป้าหมายสาคัญ ของการปฏิรูป
ด้านสาธารณสุขของประเทศ คือ ความมั่นคงทางยา ซึ่งองค์การเภสัชกรรมได้รับ ถือเป็นภารกิจสาคัญในการ
ดาเนินภารกิจการสร้างความมั่นคงทางยา เพื่อให้มียาเพียงพอต่อความต้องการ (availability) สามารถเข้าถึง
ยาได้ (accessibility) มีเสถียรภาพ (stability) และมีความสามารถในการจ่าย (affordability) บทบาทของ
องค์การเภสัชกรรมต่อระบบสาธารณสุขของประเทศนั้น คือ ทาให้เกิดความสมดุลของแต่ละภาคส่วน เพื่อให้มี
ความมั่นคงทางยาและพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศ
ทั้งนี้ กรมบั ญ ชีก ลางได้ ให้ ข้อมู ล ว่า ได้ มีก ารวางกรอบแนวทางในการท า
ข้อสงวนของประเทศไทยโดยยึดต้นแบบจากสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งสามารถขอยกเว้นตลาดได้
ร้อยละ ๕๐ ในระยะเวลา ๒๐ ปี อย่างไรก็ตาม ตัวแทนผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาในประเทศไทยได้ให้
ความเห็นว่า การยกเลิกสิทธิประโยชน์ขององค์การเภสัชกรรม อาจมีผลให้เกิดการแข่งขันอย่างเป็นธรรมในตลาด
อุตสาหกรรมยาในประเทศ ซึ่งอาจทาให้อุตสาหกรรมยาในประเทศเติบโตมากขึ้น
อ้างอิงข้อมูลเพิ่มเติมจากผลการศึกษาวิจัยโครงการประเมินผลกระทบด้าน
สุขภาพ ด้านนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ ด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้า
ถึงยา พบว่า สถานการณ์อุตสาหกรรมผลิตยาและการเข้าถึงยาในประเทศในปัจจุบัน เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
พึ่งพิงการนาเข้าเป็นหลัก และพบว่า ในปี ๒๕๖๒ มีบริษัทที่มีขนาดตลาด ๑,๐๐๐ ล้านขึ้นไป เพียงร้อยละ ๑๗
(๒๑ แห่ง จาก ๑๒๓ แห่ง) สัดส่วนการผลิตยาในประเทศ เมื่อเทียบกับการนาเข้ายา จะเห็นว่า มีแนวโน้มลดลง
อย่างเห็นได้ชัด จากร้อยละ ๖๙ ในปี ๒๕๓๐ ลดลงเหลือเพียงร้อยละ ๒๙ ในปี ๒๕๖๒ และมีแนวโน้มการนา
ยาเข้าสูงขึ้นทุกปี
เบื้ องต้น การคาดการณ์ ผ ลกระทบของความตกลง CPTPP ในระยะเวลา
ประมาณ ๓๐ ปี (๒๕๖๒ – ๒๕๙๑) แสดงให้เห็นว่า ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้นจะมาจาก
ราคายาที่สูงขึ้น ประเทศไทยพึ่งพิงยานาเข้าเพิ่มขึ้น หากประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP ผลกระทบ
จากการเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (patent linkage) และการลดสิทธิพิเศษขององค์การ
เภสัชกรรมภายใต้ข้อบทรัฐวิสาหกิจ (State - Owned Enterprise) จะส่งผลให้คนไทยประสบปัญหาการเข้าถึงยา
ดังนี้
๑) ค่าใช้จ่ายด้านยาเพิ่มสูงขึ้น สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านยามีแนวโน้มเพิ่มจาก
ร้อยละ ๑.๒ ของ GDP จากปัจจุบัน เป็นร้อยละ ๓ - ๔ ในอีก ๓๐ ปีข้างหน้า
๒) อัตราการพึ่งพิงยานาเข้าเพิ่มขึ้น จากร้อยละ ๗๑ ในปี ๒๕๖๒ เป็นร้อยละ ๘๙
ในปี ๒๕๙๐
๔๖

๓) มูลค่าตลาดของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ อาจจะลดลงถึง ๑๐๐,๐๐๐


ล้านบาท และมูลค่าการตลาดขององค์การเภสัชกรรมอาจจะลดลงกว่า ๑๐,๐๐๐ ล้านบาท ในกรณีที่มีผลกระทบ
รุนแรงและการแข่งขันทางการตลาดสูงโดยเฉพาะจากผู้นาเข้ายา
คณะกรรมาธิการมีความเห็นว่า ควรพิจารณาในประเด็นนี้อย่างรอบคอบ
และข้อมูลที่เพียงพอจากการศึกษาในด้านต่าง ๆ เพราะเป็นผลกระทบระยะยาวทั้งในด้านขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน ทั้งด้านการวิจัยและพัฒนาของนักวิจัย และการแข่งขันทางการตลาดของอุตสาหกรรมยาไทย
ความมั่นคงทางยาและการพึ่งพิงการนาเข้าจากต่ างประเทศ ตลอดจนราคายาและความสามารถในการเข้าถึง
ยาของประชาชนไทย
(๔) ประเด็นการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา (Compulsory Licensing : CL)
การใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยาเป็นหนึ่งในข้อยืดหยุ่นของความตกลงว่าด้วย
การค้าที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญา (Trade - Related Aspects of Intellectual Property Rights :
TRIPS) ซึ่งได้กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง พ.ศ. ๒๕๔๒ โดย CL
เป็นมาตรการที่สาคัญที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงยาได้มากขึ้น และเป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่า ประเทศไทยโดย
กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศใช้ CL มาก่อนแล้วในระหว่างปี ๒๕๔๙ - ๒๕๕๑ ในยา ๗ รายการ๕ ก่อให้เกิด
ประโยชน์ต่อผู้ป่วย ซึ่งเข้าถึงยาจาเป็นได้ในวงกว้างและสามารถประหยัดงบประมาณภาครัฐด้านสาธารณสุข
รวมสะสมได้ ๒๔,๖๗๗ ล้านบาท (ปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๘)
ความตกลง CPTPP มีข้อกาหนดเกี่ยวกับ CL ไว้หลายมาตรา ได้แก่ มาตรา
๑๘.๖ และ ๑๘.๔๑ และมีความเกี่ยวเนื่องข้ามบทในประเด็นสาคัญในบทที่ ๙ ซึ่งว่าด้วยการลงทุนในมาตรา
๙.๕.๕, ๙.๑๐.๓ (b)(i), ๙.๘.๕, ๙.๑๐.๓ (b)(i) และโดยเฉพาะภาคผนวก (Annex) ๙-B
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุขมีความกังวลว่า ประเทศไทยอาจไม่สามารถ
ใช้มาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา (CL) ได้เช่นเดิม หรืออาจเพิ่มความเสี่ยงที่รัฐจะถูกบริษัทยาต้นแบบ
ภาคเอกชนฟ้องร้องได้ง่ายขึ้นผ่านกระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ
กรมทรัพย์สินทางปัญญาและกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ให้ข้อมูลว่า ข้อบท
ในความตกลง CPTPP ได้ยืนยันสิทธิของประเทศภาคีในการใช้มาตรการ CL ดังนั้น หากประเทศไทยเข้าร่วม
ความตกลง CPTPP ประเทศไทยจะยังคงสามารถใช้มาตรการ CL ได้เช่นที่ผ่านมา หากได้กระทาตามกรอบ
ความตกลงว่าด้ว ยการค้าที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สิ นทางปัญญา (Trade - Related Aspects of Intellectual
Property Rights : TRIPS)
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ชี้แจงว่า แม้ว่าในข้อบทเรื่องทรัพย์สิน
ทางปัญญาอาจยืนยันให้สามารถทา CL ได้ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติ อาจไม่สามารถทา CL ได้ หากการทา CL
ถูกตีความว่า เป็นการเวนคืนทรัพย์โดยทางอ้อม ตามการแปลความใน Annex ๙-B ของข้อบทว่าด้วยการลงทุน
และจึงสุ่มเสี่ยงอย่างมากต่อการถูกฟ้องร้องโดยเอกชนได้ ถึงแม้ว่าจะปฏิบัติได้สอดคล้องกับความตกลง TRIPS
ขององค์การการค้าโลก (The World Trade Organization : WTO) ก็ตาม เพราะข้อบทเรื่องการลงทุนไม่ได้
อยู่ภายใต้บังคับของข้อบทว่าด้วยทรัพย์สินทางปัญญา


ยา ๗ รายการ คือ ๑. Efavirenz (ยาต้านไวรัส HIV) ๒. ยาสูตรผสม (Lopinavir/Ritonavir) (ยาต้านไวรัส HIV) ๓. Clopidogrel
(ยาสลายลิ่มเลือด) ๔. Imatinib (ยารักษาโรคมะเร็ง) ๕. Letrozole (ยารักษาโรคมะเร็ง) ๖. Erotinib (ยารักษาโรคมะเร็ง)
และ ๗. Docetaxel (ยารักษาโรคมะเร็ง)
๔๗

ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการยังมีความเห็นที่ไม่ตรงกันในประเด็นดังกล่าว และยัง


ไม่เป็นที่ยุติว่า ประเทศไทยจะยังคงสามารถใช้มาตรการ CL ได้เช่นเดิม โดยมิได้เพิ่มความเสี่ยงที่จะถูกฟ้องร้อง
โดยภาคเอกชนในกรณี ที่ต้องพิจารณาร่วมกับข้อบทการลงทุนหรือไม่ ซึ่งในประเด็นความเสี่ยงที่จะถูกฟ้อง
ได้ มีก ารหารื อในข้อ ๔.๒.๘ ข้อ บทว่าด้ว ยการคุ้ม ครองการลงทุ น และกลไกการระงับ ข้อ พิ พ าทระหว่างรัฐ
กับเอกชน (Investor State Dispute Settlement : ISDS) ของเอกสารฉบับนี้
๒) สมุนไพร

มาตรการที่
เหมาะสม การคุ้มครองและ
(บทที่ 29) ส่งเสริมภูมิปัญญาไทย จดสิทธิบัตรพืช, จุลชีพ บังคับร่วมUPOV1991
(บทที่ 18) พืชปา
(บทที่ 18)
CBD ความร่วมมือใน TK
(บทที่ 1) (บทที่ 18) พืชเกษตรกรรม แหล่งวัตถุดิบ
จดสิทธิบัตร

ยาใหม่
ภูมิปัญญาดั้งเดิม (TK) ขึ้นทะเบียน
- ทรัพยากรพันธุกรรม (GR) วิจัยและพัฒนา อนุญาตจาหน่าย ผลิต/
- ความหลากหลายทางชีวภาพ ยาสมุนไพร คุ้มครองผู้บริโภค ส่งออก
แผนโบราณ
การเข้าถึงข้อมูล และ
พืชสมุนไพร มาตรการสุขอนามัยพืช
แบ่งปันผลประโยชน์
(บทที่ 7)
(บทที่ 20)

ภาพที่ ๒ กรอบการพิ จ ารณาประเด็ น ภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น และการแพทย์ แ ผนไทย และสมุ น ไพร


และประเด็นผลกระทบจาก CPTPP
สมุน ไพรและตารับยาแพทย์แผนไทยจัดเป็นภู มิปั ญ ญาท้องถิ่น (Traditional
Knowledge : TK) ประเภทหนึ่ งของไทยที่ สื บ ทอดมาแต่ บ รรพบุ รุษ ในต ารายาต่ าง ๆ และเป็ น ทรัพ ยากร
พันธุกรรม (Genetic Resource : GR) ที่สาคัญของประเทศไทย สมุนไพรที่ผลิตเป็นยาจะมีทั้งในรูปผลิตภัณฑ์
สมุนไพรเดี่ยว ผลิตภัณฑ์ผสมที่เป็นตารับ นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งที่มาของสารสกัดและสารกึ่งสังเคราะห์ที่นาไป
วิจัยและพัฒนาต่อยอด เพื่อผลิตรูปแบบสารเดี่ยวในยาแผนปัจจุบัน ซึ่งทั้งหมดจะต้องขอขึ้นทะเบียนตารับยา
จาก อย. เพื่อผลิตจาหน่าย โดยมีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นหน่วยงานรัฐที่รับผิดชอบ
สนั บ สนุ น ส่ งเสริม และคุ้ มครองทรัพ ย์ ทางปั ญ ญาของประเทศ ร่ ว มกั บ กระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม และเพื่อให้มีการค้นคว้าวิจัยต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรพันธุกรรม และทรัพยากรธรรมชาติ
เหล่านี้ จึงมีข้อกาหนดที่เป็นสากลเกี่ยวกับการแบ่งปันผลประโยชน์ภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลาย
ทางชีวภาพ (Convention on Biodiversity : CBD) เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในสินทรัพย์ของประเทศและ
ทรัพย์สินส่วนบุคคลที่จะเกิดขึ้น (ภาพที่ ๒) ปัจจุบันประเทศไทยนาเข้าพืชสมุนไพรจากต่างประเทศ เพื่อมาผลิต
ยาสมุน ไพรมากขึ้น และมีน โยบายที่จะใช้ส มุนไพรเพื่อส่ งเสริมเป็นผลิ ตภัณ ฑ์เศรษฐกิจ (เครื่องส าอางและ
เวชสาอาง ยาสมุนไพรรูปแบบต่าง ๆ) ตามแผนปฏิรูปประเทศด้วย แต่พืชสมุนไพรไม่ได้รับการส่งเสริมเหมือน
สินค้าเกษตรอื่น ๆ เนื่องจากมูลค่าทางการตลาดน้อยกว่าพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ แม้ว่าพืชสมุนไพรจะมีลักษณะเป็น
๔๘

อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium Enterprises : SME) ที่ส่ งเสริมสร้างรายได้


สร้างงานกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชนได้ ทั้งนี้รวมถึงธุรกิจนวดไทยก็ตาม
ความตกลง CPTPP มีข้อบทที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งพันธุกรรม
อยู่หลายบท ได้แก่ บทที่ ๒ (การประติบัติเยี่ยงคนชาติและการเข้าสู่ ตลาดสินค้า) บทที่ ๓ (กฎว่าด้วยถิ่นกาเนิด
สินค้าและกระบวนการผ่านเกณฑ์ถิ่นกาเนิดสินค้า) บทที่ ๗ (มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช) บทที่ ๑๘
(ทรัพย์สินทางปัญญา) บทที่ ๒๐ (สิ่งแวดล้อม) บทที่ ๒๔ (วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม) และบทที่ ๒๙
(ข้อยกเว้นและบทบัญญัติทั่วไป)
คณะกรรมาธิ ก ารพิ จ ารณากรณี ส าคั ญ โดยมี ร ายละเอี ย ด คื อ การเข้ า ร่ ว ม
ความตกลง CPTPP ทาให้ประเทศไทยจะต้องเข้าร่วมอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่
(International Union for the Protection of New Varieties of Plants : UPOV) ฉบั บ แก้ ไขปี ๑๙๙๑
โดย UPOV 1991 เป็ น ข้อ กังวลจากภาคประชาชนต่อ การเข้าร่วมความตกลง CPTPP อนุสั ญ ญาดั งกล่ าว
มีวัตถุประสงค์ที่จะผลักดันการปรับปรุงพันธุ์พืชและการให้ความคุ้มครองสิทธิแก่นักปรับปรุงพันธุ์พืชพันธุ์ใหม่
กรมวิชาการเกษตรได้ให้ความเห็นว่า ข้อกังวลในประเด็นว่า พันธุ์พืชสมุนไพร
ของไทยจะถูกลักลอบไปจดทะเบียนสิทธิน่าจะเกิดขึ้นได้ยากหรือแทบเป็นไปไม่ได้ เนื่องจาก UPOV 1991 นั้น
ให้ ความคุ้ มครองเฉพาะพั น ธุ์พืช ใหม่ที่ ถูกคิดค้ น และสร้างขึ้น ด้ว ยการกระท าของนักปรับปรุงพัน ธุ์เท่ านั้ น
ซึ่งย่อมจะต้องแสดงเส้นทางกระบวนการคิดค้น วิจัย และพัฒนาโดยละเอียด จึงจะสามารถนามาขอจดทะเบียน
เพื่อรับรองสิทธิได้
อย่างไรก็ดี ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุข โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับยาสมุนไพร
มีความกังวลว่า ปัจจุบันฐานข้อมูลเกี่ยวกับพืชสมุนไพรของไทยยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร ทั้งนี้ สานักงานนโยบาย
และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ข้อมูลว่า การจัดทาฐานข้อมูลเกี่ยวกับพันธุ์พืชยังไม่สามารถ
จัดทาได้ครอบคลุมพันธุ์พืชทุกชนิดในประเทศไทย โดยอนุสัญญา UPOV 1991 กาหนดให้ต้องคุ้มครองพันธุ์พืช
ใหม่ ดังนั้น พันธุ์พืชสมุนไพรของไทยเมื่อถูกนาไปพัฒนาปรับปรุงเป็นพันธุ์ใหม่แล้ว อาจถูกนาไปขึ้นทะเบียน
เป็ น พั น ธุ์พื ช ใหม่ได้ อี กทั้งอนุ สั ญ ญา UPOV 1991 ไม่ได้กาหนดให้ ป ระเทศภาคีกาหนดเงื่อนไขให้ ผู้ ขอขึ้ น
ทะเบี ยนพันธุ์พืชใหม่จะต้องเปิดเผยข้อมูลแหล่งที่มาของพันธุกรรมที่นามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ จึงทาให้
มีความเสี่ยงที่จะถูกลักลอบพันธุ์สมุนไพรไทย (bio-piracy) กล่าวคือ อาจมีความเสี่ยงที่จะถูกต่างชาตินาพันธุ์
พืชสมุนไพรของไทยไปพัฒนาเป็นพันธุ์พืชใหม่และจดทะเบียนสิทธิเป็นของตนเอง
คณะกรรมาธิการ มีข้อสังเกตว่า ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดาเนินการรวบรวม
และจัดทาฐานข้อมูลพันธุ์พืชสมุนไพรของประเทศไทยให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันโดยเร็วที่สุด และจัดตั้งหน่วย
เฝ้าระวังการลักลอบนาพันธุ์พืชไทยไปจดทะเบียนสิทธิ ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงทางสมุนไพร
ของไทย ไม่ว่าจะเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV 1991 หรือไม่ก็ตาม
๓) เครื่องมือแพทย์
การผลิต/นาเข้า/จาหน่ายเครื่องมือแพทย์ในประเทศไทยจะต้องได้รับการขึ้น
ทะเบี ย นหรือจดแจ้ งจาก อย. และบางส่ วนจะต้องเป็น ไปตามมาตรฐานที่กาหนดโดยส านักงานมาตรฐาน
ผลิ ตภัณ ฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.) โดยมีกรมวิท ยาศาสตร์ก ารแพทย์และกรมวิทยาศาสตร์บริการเป็น หน่ ว ย
ตรวจสอบมาตรฐาน อีกทั้งประเทศไทยมีทั้งเครื่องมือแพทย์ผลิตในประเทศและนาเข้า และการทาลาย/กาจัด
ของเสียจะเป็นบทบาทของผู้ประกอบการ กรมควบคุมมลพิษและกระทรวงสาธารณสุข โดยที่ในปัจจุบัน อย.
จะอนุ ญ าตให้ น าเข้าเฉพาะเครื่องมือแพทย์ใหม่เท่านั้น และประเทศไทยยังมีข้อจากัดทั้งทางด้านบุคลากร
และห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบมาตรฐานของเครื่องมือแพทย์ โดยเฉพาะที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงหลากหลาย
๔๙

สาขา และเครื่องมือแพทย์จะต้องเป็นไปตามมาตรฐาน โดยต้องมีความแม่นยาและเที่ยงตรงสูงในการวินิจฉัย


และการรักษา เพื่อการวินิจฉัยโรคของแพทย์ที่ถูกต้องและความปลอดภัยของผู้ป่วย (ภาพที่ ๓)

ภาพที่ ๓ ระบบและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเครื่องมือแพทย์โดยสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ในขณะเดี ยวกัน ก็ค าดว่า การใช้ เครื่องมื อ แพทย์ ที่ ผ่ านกระบวนการผลิ ต ซ้ า


หรือผลิตใหม่ จะมีราคาที่ถูกกว่าเครื่องมือแพทย์ใหม่ การผลิต/ปรับปรุงเครื่องมือแพทย์ที่ผ่านกระบวนการผลิตซ้า
หรือผลิ ตใหม่ก็มีคุณ ภาพหลากหลาย ซึ่งมีทั้งผู้ ผ ลิตที่เป็นโรงงานสิ นค้าใหม่ และผู้ ผ ลิตที่ดาเนินการเฉพาะ
เครื่องมือแพทย์ที่ผ่านกระบวนการผลิตซ้าหรือผลิตใหม่เท่านั้น ในด้านนิยามของ remanufactured medical
devices ก็มีความหลากหลาย (เช่น refurbished, recondition, rebuild, repair และ reprocessing เป็นต้น)
และยังไม่มีข้อสรุปร่วมกันในระดับสากล นอกจากนี้เทคโนโลยีด้านการแพทย์มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก
การใช้เครื่องมือแพทย์ประเภทนี้ อาจล้าสมัยอย่างรวดเร็วจนไม่คุ้มค่าอย่างที่คาดการณ์ไว้
ความตกลง CPTPP มีข้อบทที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือแพทย์คือ มาตรา
๑.๓ ที่กาหนดนิยามทั่วไปของสินค้าใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการผลิตซ้าหรือผลิตใหม่ (remanufactured goods)
(ซึ่งหมายรวมถึงพิ กัดศุล กากรของเครื่องมือแพทย์) ซึ่งประกอบด้ว ยวัตถุดิบที่นากลั บมาใช้อีกทั้ งหมดหรือ
บางส่ ว น และมี อ ายุ ก ารใช้ งานและใช้ งานได้ เหมื อ นกั บ หรือ ใกล้ เคี ย งกั บ สิ น ค้ าใหม่ และมี ก ารรับ ประกั น
จากโรงงานซึ่งคล้ายคลึงกับที่ใช้กับสินค้าใหม่ นอกจากนี้ในมาตรา ๒.๑๑ กาหนดไม่ให้ประเทศภาคีสมาชิก
กาหนดมาตรการที่จากัดหรือห้ามการนาเข้าสินค้าใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการผลิตซ้าหรือผลิตใหม่
๕๐

คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้


ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุข มีความกังวลว่า มาตรฐานทางการแพทย์
ของประเทศไทยอาจลดระดับ ลงหากเข้าร่ว มความตกลง CPTPP เนื่องจากความตกลง CPTPP กาหนดให้
ประเทศไทยจะต้องเปิดโอกาสให้สามารถนาเข้าเครื่องมือแพทย์มือสองทุกประเภทเข้ามาจาหน่ายภายในประเทศ
ได้ ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีข้อห้ามมิให้นาเข้า รวมถึงภาระในการกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดจากนาเข้า
เครื่องมือแพทย์ในอนาคต
กรรมาธิ การบางส่ ว นเสนอว่า หากอนุ ญ าตให้ น าเข้ าได้ แต่ รัฐ ออกกฎหมาย
ภายในห้ า มมิ ให้ ทั้ ง สถานพยาบาลของรั ฐ และ/หรื อ เอกชนซื้ อ เครื่ อ งมื อ แพทย์ มื อ สองทุ ก ประเภทมาใช้
ในสถานพยาบาล หรือใช้เพื่อการรักษาพยาบาลผู้ป่วย จะสามารถกระทาได้หรือไม่ ซึ่งยังไม่มีข้อสรุป
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศเสนอแนะว่า อาจพิจารณาเป็นการกาหนด
ในข้อกาหนดของผู้ว่าจ้าง (Term of Reference : TOR) ของหน่วยงานหรือออกมาตรฐานสินค้า เพื่อควบคุม
คุณภาพของเครื่องมือแพทย์ดังกล่าวแทนเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาความด้อยคุณภาพ
กรมสนธิสั ญ ญาและกฎหมายตั้งข้อสังเกตว่า หากกระท าเช่นนั้ นในส่ว นของ
สถานพยาบาลของรั ฐอาจขัดกับ ข้อบทว่าด้วยข้อกาหนดทางเทคนิ ค (Technical Specification) ในบทการ
จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Government Procurement) หรือไม่
กรมศุลกากรได้ให้ข้อมูลต่อที่ประชุมว่า พิกัดศุลกากรตั้งแต่ ๘๔ - ๙๐ ครอบคลุม
ถึงสินค้าเครื่องมือแพทย์ อย่างไรก็ตามพิกัดศุลกากรดังกล่าวไม่สามารถจาแนกระหว่างสินค้าใหม่และสินค้า
ใช้แล้วที่ผ่านกระบวนการผลิตซ้าหรือผลิตใหม่ (remanufactured goods) ได้อย่างชัดเจน ในเรื่องดังกล่าว
กรมศุล กากรได้มีการเสนอความเห็ น ว่า อาจใช้รหั ส สถิติเพิ่ มอีก ๒ หลักจากเดิม ๘ รวมเป็น ๑๐ หลั กเพื่ อ
แยกสินค้าทั้งสองประเภทได้
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาแล้ว เพื่อป้องกันปัญหาที่เกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์
ควรจะต้องมีการดาเนินการ ดังนี้
(๑) ทาความชัดเจนในการกาหนดนิยามและพิกัดศุลกากรเครื่องมือแพทย์ที่เป็น
remanufactured goods และการตีความกฎหมายที่เกี่ย วข้องโดยเฉพาะเรื่องการจัดซื้อโดยสถานพยาบาล
ภาครัฐ
(๒) รัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอเพื่อสนับสนุนการพัฒ นา
ศักยภาพของบุคลากรและห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบ เพื่อการจาแนกเครื่องมือแพทย์ remanufactured
goods และเครื่องมือแพทย์ที่ใช้แล้วหรือเครื่องมือแพทย์มือสอง เพื่อรับประกันด้านมาตรฐานของเครื่องมือ
แพทย์และความปลอดภัยของประชาชน
(๓) ศึกษาความคุ้มค่ากับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความล้าสมัย
ของเครื่องมือแพทย์ รวมถึงความสามารถในการกาจัดของประเทศไทย
๔) อาหาร
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การกาหนดมาตรฐานในเรื่องอาหารที่ ประเทศไทยจะต้องกระทาหากเข้าร่วม
ความตกลง CPTPP ได้แก่การกาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานทางอาหารตามมาตรฐานทางอาหารสากล (CODEX
Guidelines) ในบทที่ ๗ (มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช) โดยไม่สร้างภาระให้แก่ผู้ประกอบการ
๕๑

ทั้งนี้ ภาคประชาชนกังวลว่า หากประเทศไทยกาหนดมาตรฐานสูงจนเกินไป


อาจส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมอาหารและประชาชน สมควรกาหนดมาตรฐานที่ประเทศดาเนินการได้
และสอดคล้องตามมาตรฐานของ CODEX
กองอาหาร อย. เห็ นว่ า การก าหนดมาตรฐานในเรื่องอาหารของความตกลง
CPTPP โดยอ้างอิงหลักการของ CODEX Guideline เป็นเรื่องที่รับได้เพื่อคุ้มครองสุขภาพของประชาชน
ในเรื่ องดั งกล่ าวคณะกรรมาธิก าร เห็ น เป็ น ยุ ติ ว่า ประเทศไทยย่อ มสามารถ
กระทาเช่นนั้นได้ โดยภาครัฐควรแถลงให้ชัดเจนในประเด็นนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจแก่ภาคประชาชน
๕) เครื่องสาอาง
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
การผลิตและจาหน่ายเครื่องสาอางซึ่งใช้กับประชาชนจะต้องขอจดแจ้งกับ อย.
โดยที่ อย.จะออกเลขที่รับ แจ้ ง (notification number) ให้ กับทุกผลิตภัณ ฑ์ และผู้ ผลิ ตจาหน่ายผลิ ตภัณ ฑ์
มีหน้าที่ต้องแสดงเลขที่รับแจ้งที่ได้รับอนุญาตไว้บนฉลากผลิตภัณฑ์สาหรับเลขที่รับแจ้งดังกล่าว นอกจากที่ อย.
ใช้เลขที่รับแจ้งเป็นเลขทะเบียนในสารบบ สาหรับการกากับตรวจสอบผลิตภัณฑ์และการตรวจสอบย้อนกลับ
(track and traceability) แล้ว ยังใช้เป็นสื่อกลางในการเฝ้าระวั งและใช้สื่อสารข้อมูลกับประชาชนผู้บริโภค
เครื่องสาอางนั้นอีกด้วย (ภาพที่ ๔)

กากับดูแลก่อนออก ให้ความเห็น ให้ความเห็น


ตรวจสถานที่ รับจดแจ้ง
สู่ตลาด ฉลาก โ ษณา

พรบ. ผู้ว่า
เครื่อง จ้าง ผูผ้ ลิต สถานที่ ผู้บริโภค
เครื่องสาอาง ฉลาก โ ษณา
สาอาง วาง ผู้นาเข้า ผลิต นาเข้า
2558 ตลาด Tracking
กฎหมาย กฎหมาย กฎหมาย ไม่ขัด เลขรับแจ้ง
หน้าที่ กาหนด กฎหมาย
กาหนด กาหนด
เครื่องสาอาง
แสดงเลขรับแจ้ง ปลอดภัย

เก็บตัวอย่างส่ง เก็บตัวอย่าง ข่าว ปชส.


กากับดูแลหลังออก ตรวจสถานที่ ตรวจโ ษณา ประกาศผล
ตรวจวิเคราะห์ ตรวจสอบฉลาก
สู่ตลาด วิเคราะห์
Tracking เลขรับแจ้ง ดาเนินคดี

บังคับปฏิบัติ สมัครใจปฏิบัติ ผลกระทบ

ภาพที่ ๔ การกากับดูแลเครื่องสาอางของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
๕๒

ความตกลง CPTPP ใน Annex ๘-D ของบทที่ ๘ กาหนดห้ามใช้เลขที่จดแจ้ง


กับผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง
คณะกรรมาธิการมีความเห็นและข้อเสนอแนะ ดังนี้
ที่ ป ระชุม บางส่ ว นมีค วามกั งวลว่า การเข้ าร่ว มความตกลง CPTPP จะท าให้
ประเทศไทยห้ามออกมาตรการเพื่อบังคับให้ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางจะต้องปรากฏฉลากที่แสดงเลขที่จดแจ้ง
ที่ได้รับจาก อย. ดังนั้น อย. จะต้องใช้เครื่องมือหรือวิ ธีการอื่นในการติดตามผลิตภัณฑ์และคุ้มครองผู้บริโภค
ซึง่ อาจทาให้ค่าใช้จ่ายของภาครัฐและต้นทุนของภาคเอกชนสูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อราคาเครื่องสาอาง
(๑) การปฏิบัติตามความตกลง CPTPP ที่กาหนดมิให้แสดงเลขที่จดแจ้งในฉลาก
เครื่ อ งส าอางนั้ น จะท าให้ ป ระชาชนขาดวิ ธี ก ารที่ จ ะตรวจสอบได้ ว่ า เครื่ อ งส าอางนั้ น ผ่ า นการอนุ ญ าต
จากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้ว และในส่วนของเจ้าหน้าที่จะสามารถเชื่อมโยงการตรวจสอบ
ข้อมูลการจดแจ้งและมาตรฐานสินค้าเครื่องสาอาง
(๒) ส านั ก งานคณะกรรมการอาหารและยาอาจต้ อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง ระบบ
ฐานข้อมูลทะเบียนการจดแจ้งเครื่องสาอางเพื่อให้มีการตรวจสอบเครื่องสาอาง และเพื่อรองรับข้อบทต่าง ๆ
ในความตกลง CPTPP
(๓) หากประเทศไทยกาหนดไม่ให้มีการแสดงเลขที่จดแจ้งบนฉลากเครื่องสาอาง
อาจต้องใช้รูปแบบอื่นแทนนั้น สานักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้เสนอว่า มีตัวอย่างจากต่างประเทศ
ที่เลี่ยงไปใช้บาร์โค้ด หรือคิวอาร์โค้ด แทน
ทั้ ง นี้ ควรมี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย วิ ธี ก ารใหม่ ที่ จ ะใช้ แ ทนการแสดงเลขที่ รั บ แจ้ ง นี้
ซึ่งจะต้องใช้เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค โดยไม่เป็นภาระต่อผู้บริโภคในการตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ รวมถึง
ต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่จะใช้วิธีการใหม่นั้น แทนเลขที่รับแจ้งดังกล่าวแล้ว
๖) ยาสูบ
เป็ น ที่ ท ราบโดยทั่ ว กั น ว่ า ยาสู บ เป็ น สารพิ ษ ที่ ท าลายสุ ข ภาพของผู้ สู บ และ
ผู้ที่ได้รับควันของยาสูบ โรคภัยที่เกิดขึ้นจากยาสูบมีมากมายโดยเฉพาะมะเร็ง และก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่าย
ด้านการรักษาพยาบาล การสูญเสียทางเศรษฐกิจและสั งคม การควบคุมการบริโภคยาสูบถือเป็นบทบาทหน้ าที่
และภารกิจสาคัญของหน่วยงานด้านการสาธารณสุข ซึ่งเป็นการคุ้มครองประชาชนไทย ประเทศไทยมีมาตรการต่าง ๆ
เพื่อลดการบริโภคยาสูบ เช่นเดียวกับประเทศอื่น ๆ อย่างไรก็ตาม มาตรการควบคุมเหล่านั้นจะมี ประสิทธิภาพ
ได้ในระดับหนึ่ง และจะต้องมีชุดมาตรการเพิ่มเติมเป็นระยะ ๆ เพื่อยับยั้งและควบคุมวิธีการส่งเสริมการบริโภค
และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภค โดยที่เป้าหมายของมาตรการควบคุมการบริโภคยาสูบ คือ การป้องกัน
นักสูบหน้าใหม่ที่เป็นเด็กและเยาวชน นอกจากนี้ ประเทศไทยยังเป็นภาคีสมาชิกของกรอบอนุสัญญาว่าด้วย
การควบคุมยาสูบ (Framework on Tobacco Control : FCTC) จัดทาขึ้นโดยประเทศสมาชิกและดาเนินการ
โดยองค์การอนามัยโลก ซึ่งประเทศไทยเป็นประเทศภาคีสมาชิก และจะต้องปฏิบัติตามกรอบอนุสัญญานี้ในการ
ควบคุมยาสูบ
ความตกลง CPTPP มีข้ อบทที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บ การควบคุ ม ยาสู บ คือ มาตรา ๑.๒
(ความสัมพันธ์กับความตกลงอื่น ๆ) บทที่ ๘ (อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า) และ มาตรา ๒๘.๓ (ขอบเขตของ
ข้อพิพาทและการระงับข้อพิพาท) และมาตราที่ ๒๙.๕ (ข้อยกเว้นด้านการใช้ ISDS กับมาตรการควบคุมยาสูบ)
คณะกรรมาธิการได้พิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
(๑) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศให้ข้อมูลว่า การผูกขาดการผลิตภายในประเทศ
โดยการยาสูบแห่งประเทศไทย (ยสท.) ยังคงสามารถกระทาต่อไปได้หากเข้าร่วมความตกลง CPTPP
๕๓

ในเรื่องนี้ คณะกรรมาธิการมีความเห็นว่า ประเทศไทยอาจระบุเป็นข้อสงวน


ไว้ใน Annex IV (บทที่ ๑๗ รัฐวิสาหกิจและองค์กรที่ได้รับอานาจผูกขาดจากรัฐ) ได้
(๒) ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุขกังวลเรื่อง มาตรการกาหนดรูปแบบฉลาก
และหีบ ห่อผลิตภัณฑ์ยาสูบซึ่งประเทศไทยกระทาตามกรอบ FCTC อาทิ การกาหนดรูปแบบบุหรี่ซองเรียบ
อาจมีปัญหา เนื่องจากขัดต่อหลักการปฏิบัติที่เป็นธรรมและเที่ยงธรรม (Fair and Equitable Treatment :
FET) ในความตกลง CPTPP โดยประเด็นที่น่ากังวล คือ FCTC ไม่มีบทกาหนดโทษ แต่ความตกลง CPTPP
มีบทกาหนดโทษ เมื่อข้อบทในความตกลง CPTPP กาหนดว่า ให้ภาคีพิจารณาร่วมกันว่าจะกระทาตามกรอบ
ความตกลงใดเมื่อขัดแย้งกัน อาจต้องยุติด้วยการกระทาตามหลักการในความตกลง CPTPP เนื่องจากข้อบท
ในความตกลง CPTPP มีสภาพบังคับ
ทั้งนี้ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศเสนอว่า ประเทศไทยอาจพิจารณาเจรจา
เพื่อจัดทาความตกลงเฉพาะ (side letter) ในประเด็นดังกล่าวกับประเทศภาคีต่าง ๆ หรืออาจยกเหตุผลว่า
เป็ น มาตรการเพื่ อ สาธารณประโยชน์ ที่ ส่ งผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของประชาชนอย่างยิ่ ง เพื่ อ ยกเว้น กรอบ
ความตกลงดังกล่าวได้
(๓) เครื่องหมายการค้า “กลิ่น” มีประเด็นสาคัญ ดังนี้
ภาคสาธารณสุขมีความกังวลว่า หากมีการจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ากลิ่นขึ้น
ภายในประเทศไทยจะทาให้สิทธิในเครื่องหมายการค้าดังกล่าวกระทบต่อการกาหนดรูปแบบบุหรี่ซองเรียบ
และอาจเป็นการกระตุ้นหรือชักจูงให้เกิดนักสูบรายใหม่เพิ่มขึ้น
กรมทรัพย์สิ นทางปั ญญาชี้แจงว่า ความตกลง CPTPP มิได้บังคับให้ประเทศ
ภาคี ต้ อ งรั บ จดทะเบี ย นเครื่ อ งหมายการค้ ากลิ่ น เพี ย งแต่ ร ะบุ ว่ าควรพยายามให้ มี ขึ้ น แต่ มิ ได้ บั ง คั บ ให้ มี
นอกจากนี้ การใช้เครื ่อ งหมายการค้า ยัง คงต้อ งพิจ ารณาตามกฎหมายอื ่น ด้ว ย ดัง นั ้น หากในอนาคต
ถ้าประเทศไทยจะรับจดทะเบียนเครื่องหมายการค้ากลิ่นก็ยังคงมีอานาจในการออกมาตรการภายในประเทศ
เพื่อการควบคุมยาสูบได้
คณะกรรมาธิก ารมี ข้ อ เสนอว่า จะต้อ งมี ก ารเจรจาขอตั้ งข้ อ สงวนส าหรั บ
มาตรการควบคุมยาสูบของประเทศไทย
๗) เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
สาหรับพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยนั้น มีความแตกต่าง
จากประเทศอื่น โดยดื่มจัดและมีพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบกับบุคคลอื่น ๆ อย่างมาก ดังจะเห็นได้จาก
สาเหตุของอุบั ติเหตุจราจร การทะเลาะวิวาท และการทาร้ายบุคคลในครอบครัวและบุคคลอื่น ๆ เครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์ เป็ น สาเหตุข องการป่ ว ยเรื้ อ รังจ านวนมาก เกิ ด ค่ าใช้ จ่ ายด้ านสุ ข ภาพและการรัก ษาพยาบาล
เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจและสังคม การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะมีลักษณะและวิธีการคล้ายคลึง
กับยาสูบ
ความตกลง CPTPP มี ข้อบทที่ เกี่ยวข้องกับ การควบคุม เครื่องดื่ มแอลกอฮอล์
ได้แก่ บทที่ ๘ (อุป สรรคทางเทคนิ คต่อการค้า) และ Annex ๘-A (ไวน์และสุ รากลั่ น) โดยกาหนดประเด็น
ที่เกี่ยวกับฉลากของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บทที่ ๙ (การลงทุน) ซึ่งกาหนดเรื่องการคุ้มครองการลงทุน รวมถึง
กลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนฟ้องรัฐ และ มาตรา ๒๘.๓ (ขอบเขตของข้อพิพาทและการระงับข้อพิพาท)
๕๔

คณะกรรมาธิการมีความเห็นและข้อเสนอแนะ ดังนี้
ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุข มีความกังวลเช่นเดียวกับกรณียาสูบ แต่ในกรณี
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์นั้นไม่มีกรอบ Framework Convention on Alcohol Control (FCAC) จึงอาจมีความเสี่ยง
สูงกว่าในการถูกฟ้องร้องเมื่อกาหนดมาตรการเพื่อควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ เห็นว่า อาจทาข้อสงวนได้เช่นเดียวกับกรณี
ยาสู บ เนื่ อ งจากเป็ น มาตรการเพื่ อ สาธารณประโยชน์ ที่ ส่ งผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพของประชาชนอย่ างยิ่ ง
และพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ยังคงสามารถบังคับใช้ได้เช่นเดิม เนื่องจากไม่มี
การเลือกปฏิบัติระหว่างคนชาติกับคนต่างชาติ (non - discrimination)
ในเรื่องนี้ คณะกรรมาธิการมีความเห็นว่า ประเทศไทยมีความจาเป็น ที่จะต้อง
มีการตั้งข้อสงวนสาหรับมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เช่นเดียวกันกับมาตรการควบคุมยาสูบ
๘) ข้อบทว่าด้วยการคุ้มครองการลงทุน (Investment protection) และกลไก
การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชน (Investor-State Dispute Settlement : ISDS)
บทที่ ๙ ของความตกลง CPTPP กาหนดให้มีการเปิดเสรีการลงทุนและคุ้มครอง
การลงทุนต่าง ๆ ของนักลงทุน ซึ่งมีขอบเขตกว้างขวางที่แตกต่างจากความตกลงด้านการลงทุนอื่น ๆ อย่าง
มีนัยสาคัญ นอกจากนี้ยังได้กาหนดให้มีกลไกการระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐกับเอกชน รวมถึงกรณีมาตรการของ
รั ฐ ที่ เป็ น การเวนคื น ทรั พ ย์ สิ น ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ มไว้ ใ นบทที่ ๙ และ Annex ที่ อ าจส่ ง ผลกระทบ
ต่อหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสาธารณสุขซึ่งมีหน้าที่คุ้มครองผู้บริโภค ป้องกันและควบคุม
การบริโภคผลิตภัณ ฑ์ทาลายสุขภาพ และจาเป็นจะต้องออกมาตรการต่าง ๆ เพื่อลดการบริโภคผลิ ตภัณ ฑ์
ทาลายสุขภาพเหล่านั้น ซึ่งสวนทางและมีผลกระทบต่อการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ รายได้และผลกาไรของเอกชน
คณะกรรมาธิการได้พิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ภาคสาธารณสุขมีความกังวลในเรื่อง ISDS ดังนี้
(๑) การเข้าร่ว มความตกลง CPTPP จะท าให้ นักลงทุนต่างชาติ ตัว อย่างเช่น
บริ ษั ท ยาต้ น แบบข้ ามชาติ ส ามารถฟ้ อ งร้อ งรั ฐ ในกรณี น โยบายที่ เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ สาธารณสุ ข ได้ ง่ายขึ้ น ผ่ า น
กระบวนการอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ
(๒) ความตกลง CPTPP ในเรื่องการเปิดตลาดการค้าเสรี (fair trade) สาหรับ
สินค้าประเภทสุราสามารถเปิดตลาดการขายเสรีเหมื อนสินค้าประเภทอื่น และข้อตกลงทางการค้าที่เกี่ยวเนื่อง
กับเรื่องสื่อดิจิตอลที่จะเป็นอุปสรรคใหม่สาหรับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอาจเป็นเหตุให้รัฐถูกฟ้อง
โดยเอกชนด้วยกลไกนี้ได้
กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ให้ข้อมูลว่า การประเมินความเสี่ยงที่ประเทศไทย
จะถูกฟ้องร้องผ่านกลไก ISDS ภายใต้ความตกลง CPTPP นั้น ก่อนอื่นจะต้องเปรียบเทียบบทลงทุนของความตกลง
CPTPP กับ ความตกลงอื่น ๆ ที่ป ระเทศไทยมีอยู่แล้ วกับสมาชิก CPTPP ซึ่งสมาชิก CPTPP ที่เป็นนักลงทุน
รายใหญ่ในประเทศไทยรวมทั้งที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทยติด ๑๐ อันดับแรกในโลก คือ เครือรัฐออสเตรเลีย
ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐสิงคโปร์ นั้น มีความตกลงกับประเทศไทยที่มีกลไก ISDS อยู่แล้ว ซึ่งในกรณีที่นักลงทุน
มีความตกลงให้ เลื อกมากกว่า ๑ ฉบั บ นักลงทุนที่ต้องการฟ้ องรัฐ ย่ อมต้องประเมินว่า การฟ้องร้องภายใต้
ความตกลงใดจะมีโอกาสชนะคดีมากที่สุด เมื่อประเมินในประเด็นนี้แล้วจะเห็นได้ว่า ความตกลง CPTPP ซึ่งเป็น
ความตกลงยุคใหม่มีข้อจากัดมากกว่าความตกลงอื่น ๆ ที่ประเทศไทยมีอยู่ซึ่งเป็นความตกลงยุคเก่า โดยเฉพาะ
ความตกลง CPTPP นั้นมีบทบัญญัติที่ให้พื้นที่รัฐในการกาหนดนโยบาย (policy space safeguards) มากกว่า
ทั้งที่จากัดขอบเขตของพันธกรณีให้แคบลง และที่ระบุข้อยกเว้นให้รัฐสามารถใช้มาตรการเพื่อปกป้องสวัสดิภาพ
๕๕

ประชาชน อีกทั้งยัง มีบ ทบั ญญั ติที่กาหนดเงื่อนไขในการยื่นฟ้องคดี และเพิ่มรายละเอียดวิธีพิ จารณาความ


ของคณะอนุ ญาโตตุล าการ (procedural safeguards) ให้ชัดเจนและรัดกุมมากยิ่งขึ้น ดังนั้น ในกรณีที่เกิด
ข้อพิพาท หากนั กลงทุน จากสมาชิก CPTPP จะเลือกใช้ความตกลง CPTPP เพื่อฟ้องร้องประเทศไทยแทน
ความตกลงด้านการลงทุนยุคเก่า โดยเฉพาะหากเป็นข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับมาตรการด้านสาธารณสุข ก็จะเป็น
ผลดีสาหรับประเทศไทย เนื่องจากความตกลง CPTPP มีบทบัญญัติที่เป็นประโยชน์ต่อฝ่ายรัฐในการต่อสู้คดี
กรณี การตี ความค าว่า rare circumstance ใน Annex ๙-B ที่ ใช้ จากัด ความ
กรณี ที่ ม าตรการก ากับ ดู แลของรั ฐ เพื่ อ ปกป้ อ งสวัส ดิ ภ าพประชาชน อาจยั งถือ ได้ ว่าเป็ น มาตรการเวนคื น
ทางอ้อมนั้น จากแนวทางการตีความของคณะอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศเกี่ยวกับขอบเขตในการใช้สิทธิ
ของรั ฐ ในการก ากั บ ดู แ ล (right to regulate) ภายใต้ กฎหมายจารี ตประเพณี ระหว่ างประเทศ กรณี rare
circumstance น่าจะมุ่งไปที่เรื่องความได้สัดส่วนของมาตรการและหลักสุจริต (proportionality and good
faith) ซึ่งโดยสรุป rare circumstance คือ กรณีที่รัฐใช้มาตรการกากับดูแลด้วยความไม่สุจริตใจและความรุนแรง
(severity) ของมาตรการที่ใช้ไม่ได้สัดส่วน (disproportionate) กับวัตถุประสงค์ที่รัฐต้องการบรรลุ
กรมเศรษฐกิ จระหว่างประเทศ ให้ ข้อมู ล ว่า หากว่าประเทศไทยเห็ น ว่าสิ ท ธิ
ในการกากับดูแลของรัฐที่มีอยู่ภายใต้ CPTPP ไม่เพียงพอ และยังมีข้อห่วงกังวลต่อประเด็น ISDS อยู่ ประเทศ
ไทยอาจเจรจาขอจัดทา side letter เพื่อยกเว้นข้อกังวลดังกล่าวได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับการเจรจา โดยยกตัวอย่าง
กรณีนิวซีแลนด์ ซึ่งได้ทา side letter กับ ๕ ประเทศ เพื่อจากัดการใช้กลไก ISDS ระหว่างกัน ได้แก่ เครือรัฐ
ออสเตรเลีย สาธารณรัฐเปรู สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สหพันธรัฐมาเลเซีย และเนการาบรูไนดารุสซาลาม
โดย side letter ระหว่างนิวซีแลนด์กับเครือรัฐออสเตรเลียและนิวซีแลนด์กับสาธารณรัฐเปรู กาหนดห้ามมิให้
นั กลงทุน ใช้กลไก ISDS เพื่อฟ้องรัฐ ซึ่งเป็นการป้ องกันการฟ้ องรัฐ บาลไทยภายใต้ CPTPP ในทุกพัน ธกรณี
(แต่มิได้ตัดสิทธิการฟ้องร้องของนักลงทุนภายใต้ความตกลงฉบับอื่น หากเข้าเงื่อนไขภายใต้ความตกลงฉบับนั้น ๆ)
อย่างไรก็ดี นักลงทุนไทยก็จะไม่ได้รับความคุ้มครองภายใต้ความตกลง CPTPP ไปด้วยเช่นกัน ส่วน side letter
กับอีก ๓ ประเทศที่เหลือ ได้แก่ นิวซีแลนด์กับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม นิวซีแลนด์กับสหพันธรัฐมาเลเซีย
และนิวซีแลนด์กับเนการาบรูไนดารุสซาลาม กาหนดเงื่อนไขให้ปรึกษาหารือระหว่างกันก่อน หากไม่สามารถ
ตกลงกันได้ นักลงทุนจะใช้กลไก ISDS ฟ้องรัฐได้ต่อเมื่อได้รับความยินยอม (consent) จากรัฐก่อน
คณะกรรมาธิ ก ารมี ก ารอภิ ป รายเชิ ง ลึ ก ตามลายลั ก ษณ์ อั ก ษรในข้ อ บท
ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ยังไม่เป็นที่ยุติเนื่องจากปัญหาทางด้านการตีความ
๙) การบริการสาธารณสุข
คณะกรรมาธิการได้มีการพิจารณา โดยมีรายละเอียด ดังนี้
งานด้านสาธารณสุขมีบริการที่เกี่ยวเนื่องกันอยู่มากมาย นับตั้งแต่บริการวิจัย
ศึกษาทดลองทางคลิ นิ ก บริการผลิ ต -บริก ารจัดจาหน่ ายยา เครื่อ งมือแพทย์ และเวชภั ณ ฑ์ ที่มิ ใช่ ยาอื่น ๆ
บริการโลจิสติกส์ บริการดาเนินการร้านขายยา คลินิก โรงพยาบาล บริการรถพยาบาล บริการโดยบุคลากร
วิ ช าชี พ (เวชกรรม ทั น ตกรรม เภสั ช กรรม พยาบาลและผดุ ง ครรภ์ เทคนิ ค การแพทย์ รั ง สี ก ารแพทย์
กายภาพบ าบัด และบริก ารสัต วแพทย์ เป็น ต้น ) และบริก ารทั่ว ไปในโรงพยาบาล ทั้ง นี้ แต่ล ะประเด็น
และสภาวิชาชีพจะมีกฎหมายจาเพาะที่กากับควบคุมการปฏิบัติของหน่วยงานและผู้ประกอบวิชาชีพนั้น ๆ
ความตกลง CPTPP กาหนดให้มีการเปิดการลงทุน (บทที่ ๙) และการค้าบริการ
ข้ามแดน (บทที่ ๑๐) โดยที่การจัดทาข้อตกลงในหลักการแบบระบุเฉพาะสาขาที่ขอสงวนไม่เปิดเสรี (negative
list) และการให้สิทธิประโยชน์ และการคงสิทธิประโยชน์แก่นักลงทุน (ratchet and standstill) โดยขึ้นกับ
แต่ละประเทศดาเนินการจัดทาข้อสงวนใน sector ที่ไม่ต้องการเปิดบริการและข้อกาหนด/มาตรการที่ขัดต่อ
๕๖

ข้อบท CPTPP ในมาตรา ๙.๔, ๙.๑๐, ๙.๑๑, ๑๐.๓, ๑๐.๔, ๑๐.๕ และ ๑๐.๖ ไว้ใน Annex I (กฎหมาย/
มาตรการที่มีอยู่ในปัจจุบัน) และ Annex II (ประเด็นที่ต้องการสงวนไว้ในอนาคต) ของทั้งสองบท
สภาวิชาชีพทางสาธารณสุขให้ข้อมูลในข้อห่วงกังวลต่อการเข้าร่วมความตกลง
CPTPP ว่าจะมีการเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติสามารถเข้ามาประกอบวิชาชีพต่าง ๆ ได้โดยเสรี ซึ่งอาจส่งผล
กระทบต่อคุณภาพการให้บริการทางสาธารณสุขภายในประเทศ
คณะกรรมาธิการมีความเห็ นเป็นยุติว่า ให้ รวบรวมข้อกังวลในประเด็นต่าง ๆ
เกี่ยวกับการให้บริการทางวิชาชีพจากทุกสภาวิชาชีพเป็นข้อสงวน ทั้งนี้ หากข้อกังวลใดมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็น
การเฉพาะอยู่ แล้ว ณ ปั จ จุบัน สามารถระบุไว้เป็นข้อสงวนใน Annex I หากแต่ข้อกังวลใดยังไม่มีกฎหมาย
บัญญัติไว้ชัดเจน อาจระบุไว้เป็นข้อสงวนในภาคผนวก II หรืออาจออกกฎหมายภายในประเทศเพื่อรองรับ
และคลายข้อกังวลเหล่านั้นเสียก่อน แล้วนาไประบุเป็นข้อสงวนไว้ใน Annex I แทน โดยที่คณะกรรมาธิการ
ได้รับทราบข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากสภาวิชาชีพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
(๑) สภาเภสัชกรรมเห็นควรขอตั้งข้อสงวน ใน ๒ กรณี ดังนี้
ก) การสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเป็นภาษาไทย ตามประกาศสภา
เภสัชกรรม เรื่อง การสอบใบประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมเป็นภาษาไทยไว้ใน Annex I
ข) การกาหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (tele
pharmacy) ตามประกาศของสภาเภสัชกรรม เรื่อง การกาหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรม
ทางไกล ใน Annex I
ค) การกาหนดมาตรการและแนวทางการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล (tele
pharmacy) ใน Annex II
(๒) สภาเทคนิ ค การแพทย์ได้ ให้ ค วามเห็ น ว่ า ระบบใบอนุ ญ าตให้ ป ฏิ บั ติ งาน
ด้านเทคนิคการแพทย์ของไทยได้เปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติมีสิทธิที่จะสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเทคนิค
การแพทย์ได้อยู่แล้ว หากคุณสมบัติและศึกษาเพิ่มเติมตามหลักสูตรที่สอดคล้องกับที่ประเทศไทยกาหนด
(๓) แพทยสภาให้ความเห็นว่า การสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้นั้นจะต้อง
มีทั กษะทางภาษาไทยที่ ส ามารถให้ การบริบ าลคนไทยได้ และต้ องมีก ารตรวจสอบอย่างละเอีย ด ในกรณี
ที่จะให้ผู้ที่ไม่มีสัญชาติไทยสามารถเป็นผู้ดาเนินกิจการสถานพยาบาลได้ จะต้องมีมาตรการในการควบคุมให้ดี
(๔) ทั น ตแพทยสภาแสดงความห่ ว งกั งวลว่า หากเปิ ด เสรี บ ริก ารทั น ตกรรม
คลินิกทันตกรรม และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง (การทาฟันปลอมและห้องปฏิบัติการ) จะถูกนายทุนชาวต่างชาติที่มี
เงินทุนและเทคโนโลยีที่สูงกว่าเข้ามาครอบงากิจการ (takeover) ในรูปแบบนักลงทุน
(๕) สภากายภาพบาบัดขอสงวนการปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับ domestic
regulations เช่น การสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกายภาพบาบัดเป็นภาษาไทย และได้แสดงความห่วง
กังวลในประเด็น ความปลอดภัยและความมั่นคงของทรั พยากรบุคคล อันเนื่องมาจากการมีฐานข้อมูลสุขภาพ
ของคนไทยจะทาให้บริษัทต่างชาติสามารถเข้าถึงข้อมูลสาคัญของประชากรไทยได้
(๖) สัตวแพทยสภาเสนอว่า พระราชบัญญัติวิชาชีพการสัตวแพทย์ พ.ศ. ๒๕๔๕
กาหนดประเด็นสาคัญที่อาจจะเกี่ยวเนื่องกับการเปิดบริการภายใต้บทที่ ๙ และบทที่ ๑๐ ของความตกลง
CPTPP และให้ชาวต่างชาติเข้ามาทางานในประเทศไทยได้นั้น อาทิเช่น ต้องจบปริญญาด้านสัตวแพทยศาสตร์
มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ ที่ผ่านการสอบโดยสัตวแพทยสภา มีถิ่นที่อยู่ถาวรในประเทศไทย และมีสัญชาติไทย
เป็นต้น ในทางกลับกัน ด้วยศักยภาพและความสามารถของสัตวแพทย์ไทยนั้นและต้องการไปทางานในประเทศ
๕๗

ต่าง ๆ ทั้งในกลุ่มประเทศอาเซียน และสมาชิก CPTPP แต่ประเทศเหล่านั้นได้กาหนดข้อสงวนและปิดกั้นไม่ให้


สัตวแพทย์ไทยไปทางานได้
สัตวแพทยสภาให้ข้อสังเกตว่า การเข้ามาทางานในประเทศไทยของสัตวแพทย์
ชาวต่างชาติเกิดจากระบบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ข้อกาหนดการเปิดตลาดการค้าโดยตรง เช่น ระบบการให้บริการด้าน
การศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และสูงกว่า
(๗) สภาการพยาบาลให้ความเห็นว่า ผู้ประกอบวิชาชีพต้องสามารถสื่อสารด้วย
ภาษาไทย การสอบใบอนุ ญ าตประกอบวิ ช าชี พ ต้ อ งมี ก ารสอบวั ด เรื่ อ งภาษาไทย และสภาการพยาบาล
ให้ ข้ อ เสนอว่ า ประเทศไทยควรก าหนดข้ อ สงวน/กฎเกณฑ์ ห รื อ มาตรการส าหรั บ การด าเนิ น กิ จ การ
สถานพยาบาลที่สามารถช่วยคนไทยได้ทุกกลุ่ม ให้เป็นกิจการที่ลงทุนและดาเนินการโดยคนไทย สาหรับสถาน
ประกอบการที่ดูแล ส่งเสริม ป้องกัน และฟื้นฟูผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงจะต้องวางมาตรการและกากับ
ควบคุมอย่างดี และในกรณีกิจการที่เกี่ยวกับการจัดหาพยาบาลและผู้บริบาล (caregiver) ไปดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
และชุมชนควรให้มีการกากับดูแลโดยสภาวิชาชีพ เพื่อป้องกันปัญหาเรื่องความมั่นคงของประเทศจากผู้ไม่หวังดี
๑๐) การก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ของประเทศไทย
ประเทศไทยมีนโยบายส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติมาเป็นเวลา
มากกว่า ๑๐ ปี ซึ่งมีวัตถุป ระสงค์ให้ผู้ป่ว ยต่างชาติเข้ามารักษาในสถานพยาบาลเอกชนของไทย โดยมิได้
มีข้อสงวนใด ๆ ในความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศฉบับอื่น ๆ ที่ผ่านมา
สมาคมโรงพยาบาลเอกชนได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้
(๑) การที่ประเทศไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP จะทาให้มีรายได้เข้าประเทศ
ในลักษณะ Medical Hub service มากขึ้น ในกรณีที่ความตกลง CPTPP กาหนดให้เพิ่มระยะเวลาวีซ่ าให้กับ
บุคคลธรรมดาซึ่งรวมถึงผู้ป่วยจากประเทศภาคีความตกลง ก็จะเป็นประโยชน์เพราะการเปิดตลาด Medical Hub
เป็นจุดเด่นของประเทศไทย
(๒) มี ค วามกั ง วลว่ า หากความตกลง CPTPP มี ผ ลให้ ร ะยะเวลาคุ้ ม ครอง
สิทธิบั ตรยายาวนานขึ้น อาจกระทบต่อการจัดซื้อจัดจ้างภาคบริการ เพราะทาให้ ต้นทุนยาที่นาเข้า มีราคา
ที่สูงขึ้นและอาจต้องใช้ยาบางประเภทที่ไม่ได้มีการขออนุญาตในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม โรงพยาบาลเอกชน
ดาเนินการตามกรอบของกฎหมายประเทศไทยอยู่แล้วในปัจจุบัน ในด้านความร่วมมือกับต่างประเทศขึ้นอยู่กับ
นโยบายรัฐบาล เมื่อเข้าร่วมความตกลง CPTPP นั้น อาจต้องอิงกับกฎหมายระหว่างประเทศด้วย ซึ่งบางกรณี
อาจมี ผ ลกระทบกับ โรงพยาบาลเอกชนในกรณี จัด ซื้อ จัด จ้าง ภาคบริก าร เช่ น โรงพยาบาลอาจต้องใช้ย า
บางประเภทที่ไม่ได้มีการขออนุญาตในประเทศไทย หรือยาบางประเภทที่ต้นทุนสูงมาก
(๓) ระบบเงินทุนต่างชาติที่ประเทศไทยเปิดโอกาสให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามา
ลงทุนในสัดส่วนที่มากนั้น อาจทาให้นักลงทุนในประเทศสูญเสียความเป็นเจ้าของกิจการเหมือนธุรกิจประเภท
อื่น เช่น ธนาคาร ดังนั้น จะต้องมีกลไกในประเทศที่สามารถกากับและควบคุมประเด็นที่กล่าวนี้ เช่นเดียวกันกับ
ธุรกิจอื่น ๆ
คณะกรรมาธิ ก าร มี ข้ อ เสนอให้ ก ระทรวงพาณิ ช ย์ รับ ข้ อ สั งเกตของสมาคม
โรงพยาบาลเอกชนเพื่อพิจารณาแนวทางเพิ่มเติม
๑๑) ข้อบทที่ถูกระงับไว้ (Suspended provisions)
ความตกลง CPTPP ซึ่งมีความตกลง TPP เป็นพื้นฐาน แต่ประเทศสมาชิกของ
ความตกลง CPTPP ได้ระงับมาตรา/ข้อบทไว้ทั้งหมด ๒๒ ประเด็น ทั้งนี้มีมาตรา/ข้อบทสาคัญที่เกี่ยวข้องกับยา
๕๘

โดยเฉพาะในบทที่ ๑๘ เรื่ องทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาอยู่จานวนหนึ่ ง ซึ่ งเป็ นประเด็น ที่ ยังไม่ มี ในประเทศไทย
และประเด็นเหล่านี้จะมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่าย และการเข้าถึงยาของประชาชน
คณะกรรมาธิ ก ารได้ รั บ ทราบว่ า ภาคประชาชนและภาคสาธารณสุ ข
มี ค วามกั งวลว่ า ข้ อ บทต่ าง ๆ ที่ ถู ก ระงั บ ไว้ อาทิ ข้ อ บทที่ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การผู ก ขาดข้ อ มู ล ทางยา (Data
Exclusivity) การขยายอายุสิทธิบัตร เนื่องจากการขึ้นทะเบียนยาหรือการอนุมัติให้สิทธิบัตรล่าช้า และสิ่งที่จะ
ขอจดสิ ท ธิ บั ต รได้ นั้ น จะถู ก น ากลั บ มาบั ง คั บ ใช้ ใหม่ ได้ ในอนาคต โดยเฉพาะอย่ างยิ่ งหากสหรั ฐ อเมริ ก า
กลับเข้าร่วมความตกลง CPTPP
คณ ะกรรมาธิ ก ารรั บ ทราบจากกรมเจรจาการค้ า ระหว่ า งประเทศ
และกรมสนธิสัญญาและกฎหมายว่า ข้อบทดังกล่าวจะไม่สามารถนากลับมาบังคับใช้ใหม่ได้ หากประเทศใด
ประเทศหนึ่ งไม่ให้ ความยิน ยอม อาทิ ประเทศไทย (หากประเทศไทยได้เข้าร่ว มความตกลง CPTPP แล้ ว )
เนื่องจากการนาข้อบทที่ถูกระงับไว้กลับมาบังคับใช้นั้นจะต้องได้รับความยินยอมจากประเทศภาคีเป็นเอกฉันท์
๔.๕ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน
๔.๕.๑ ภาพรวมผลการพิจารณาศึกษา
คณะกรรมาธิการสรุปว่า การจะตัดสินใจเข้าร่วมความตกลง CPTPP หรือไม่นั้น
ขึ้ น อยู่ กั บ ความพร้ อ มของประเทศ โดยเห็ นว่ า ปั จจุ บั น ไทยยั งจ าเป็ น ต้ องเตรี ยมความพร้ อมในหลายด้ าน
ซึ่ งจ าเป็ น ที่ รั ฐ บาลจะต้ อ งมี น โยบาย มี โ ครงการที่ ชั ด เจนและจั ด สรรงบประมาณที่ เพี ย งพอ เพื่ อ เตรี ย ม
ความพร้อมและปรับโครงสร้างภายในประเทศ ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกตดังนี้
๑) รัฐบาลจะต้องผลักดันให้เกิดการปรับโครงสร้างภายในประเทศด้านกฎระเบียบ
กลไกการด าเนิ น งาน รวมถึ งงบประมาณที่ เพี ย งพอ เพื่ อ สร้า งความพร้อ มในการแข่ งขั น และการเปิ ด เสรี
ทางการค้า อาทิ การปรั บ โครงสร้างอากรขาเข้าวัตถุดิบ และกึ่งส าเร็จรูป ให้ เป็ นร้อยละศูน ย์ เพื่ อให้ ผู้ ผ ลิ ต
และผู้ประกอบการในประเทศสามารถแข่งขันกับสินค้าสาเร็จรูปที่นาเข้าได้ และการปรับโครงสร้างภาษีสาหรับ
พาณิ ช ย์ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ค วรมี ค วามเท่ า เที ย มและเป็ น ธรรมระหว่ า งผู้ ป ระกอบการ ทั้ ง ที่ ตั้ ง กิ จ การ
อยู่ ในต่ า งประเทศและในประเทศไทย โดยให้ มี ก ารเก็ บ ภาษี ดิ จิ ทั ล (Digital Tax) ขั้ น ต่ าที่ ร้ อ ยละ ๒
กับผู้ประกอบการที่อยู่นอกประเทศ และเก็บภาษีหัก ณ ที่จ่าย ร้อยละ ๒ กับผู้ประกอบการในไทย
๒) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องเพิ่มการกากับดูแลมาตรฐานและคุณภาพ
สินค้านาเข้า ทั้งสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถทาได้ภายใต้กติกาขององค์การการค้าโลก
(World Trade Organization : WTO) โดยเร่ งก าหนดมาตรฐานภาคบั งคั บ ในระดั บ ที่ ผู้ ป ระกอบการไทย
สามารถทาได้ให้ครอบคลุมสินค้าอย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ของสินค้าที่ทาการค้าระหว่างกันภายใน ๓ ปี และรัฐบาล
จะต้องจัดสรรงบประมาณและบุคลากรให้อย่างเพียงพอด้วย
๓) หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ เกี่ ย วข้ อ งจะต้ อ งปรั บ ปรุ ง กลไกการก ากั บดู แ ลและ
การคุ้มครองผู้บ ริโภค ทั้งในระบบเศรษฐกิจการค้าแบบดั้งเดิมและดิจิทัล รวมถึงส่งเสริมให้ภาคเอกชนและ
ภาคประชาสังคม มีส่วนร่วมและบทบาทในการติดตาม ดูแล และตรวจสอบการกระทาที่อาจละเมิดต่อสิทธิ
ของผู้บริโภคด้วย
๔) เนื่ อ งจากการจัด ท าความตกลงการค้ าเสรีจะมี ทั้ งผู้ ได้ ป ระโยชน์ แ ละผู้ ได้ รับ
ผลกระทบ ดังนั้น รัฐบาลจะต้องผลักดันให้ มีการจัดตั้งกองทุนช่วยเหลื อผู้ ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี
ทางการค้าที่เป็นกลไกต่อเนื่องและเข้าถึงได้ง่าย เพื่อให้สามารถปรับตัวและรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรี
ได้อย่างเหมาะสมด้วย
๕๙

๔.๕.๒ ผลการพิจารณาศึกษาประเด็นสาคัญ ๑๑ ประเด็น


คณะกรรมาธิการได้พิจารณารายละเอียด โดยมีผลการพิจารณาในประเด็นสาคัญ ดังนี้
๑) ประเด็นภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID
ในส่ ว นของการประเมิน ผลกระทบ หน่ว ยงานศึ กษาวิจัยที่กรมเจรจาการค้ า
ระหว่างประเทศได้จัดจ้างศึกษา ได้รายงานถึงผลการศึกษาโดยแบบจาลองว่า การเข้าร่วมความตกลง CPTPP
จะช่วยทาให้เศรษฐกิจ การค้า การลงทุนของไทยมีการเติบโตสูงขึ้น ทั้งนี้ การศึกษาโดยแบบจาลองดังกล่าว
เป็ น การวิเคราะห์ ผ ลกระทบจากการลดภาษีระหว่างสมาชิกเท่านั้น และยังมิได้คานึ งถึงปัจจัยต่าง ๆ อาทิ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ปัจจัยค่าขนส่ง และผลกระทบจากการเปิดตลาดภาคบริการ
การลงทุน และการจัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น
สาหรับการประเมินสถานการณ์ Post COVID รวมถึงสงครามทางการค้า ยังไม่ได้
รวมอยู่ในผลการศึกษา ซึ่งกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และสานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า เห็นว่า
สถานการณ์ ดั ง กล่ า วท าให้ เกิ ด การชะงั ก ของห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต ส่ ง ผลให้ แ ต่ ล ะประเทศให้ ค วามส าคั ญ กั บ
การขยายตลาด ความมั่นคงทางอาหารและสุขภาพ และการเลือกฐานการผลิตที่ ช่วยลดความเสี่ยงในห่วงโซ่
การผลิ ต การเข้าร่ว มความตกลง CPTPP จะช่ว ยขยายตลาดและรักษาสถานะของไทยในห่ วงโซ่ การผลิ ต
ในภูมิภาค ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ รวมถึงยกระดับกฎระเบียบให้เป็นสากล อย่างไรก็ดี จะต้องดาเนินการ
เตรีย มความพร้อมในประเทศควบคู่กัน ด้ว ย อาทิ การสร้ างฐานข้อมูล big data การพัฒ นาผู้ ประกอบการ
SMEs การมีมาตรฐานสินค้าเกษตรที่น่าเชื่อถือ และการมีกลไกช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี
ทางการค้าในกรอบต่าง ๆ ทั้งในปัจจุบันและอนาคต เป็นต้น
๒) ประเด็นการค้าสินค้า กฎถิ่นกาเนิดสินค้า และประเด็น Free Zone
(๑) ประเด็นการเปิดตลาดสินค้า กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้รายงาน
ผลการศึกษาวิเคราะห์ รายการสิ น ค้าที่คาดว่าไทยจะได้รับประโยชน์ และสิ นค้าที่ไทยอาจมีความอ่อนไหว
หากไทยเข้าร่วมเป็ นภาคีความตกลง CPTPP โดยกรมเจรจาการค้า ฯ ได้ดาเนินการศึกษาวิเคราะห์โดยแบ่ง
ประเทศออกเป็น ๓ กลุ่ม ดังนี้ (๑) กลุ่มประเทศที่ไทยมี FTA และเปิดตลาดเกือบร้อยละ ๑๐๐ แล้ว ได้แก่
บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ชิลี (๒) กลุ่มประเทศที่ไทยมี FTA แต่ยังเปิดตลาด
ไม่ ถึ งร้ อ ยละ ๑๐๐ ได้ แ ก่ ญี่ ปุ่ น และเปรู และ (๓) กลุ่ ม ประเทศที่ ไทยยั งไม่ มี FTA ด้ ว ย ได้ แ ก่ แคนาดา
และเม็กซิโก ทั้งนี้กรมเจรจาการค้าฯ ได้พิจารณาเลือกรายการสินค้าที่อาจได้รับผลกระทบ โดยแบ่งกลุ่มสินค้า
เป็ น สองส่ วน ส่ วนที่ ๑ คื อ รายการสิ น ค้าที่ อาจมี การนาเข้าเพิ่ มขึ้น หากไทยเข้าร่ว มเป็ น ภาคีความตกลง
CPTPP โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณา คือ (๑) สินค้าที่ประเทศสมาชิก CPTPP มีศักยภาพในการส่งออกสูงกว่าไทย
(๒) มูล ค่าการส่ งออกและการน าเข้าของสิ นค้ารายการนั้น ๆ ของไทย และ (๓) อัตราภาษี MFN ของไทย
และส่ ว นที่ ๒ คือ รายการสิ น ค้าที่ คาดว่าอาจเป็น รายการสิ นค้ าอ่อ นไหวของไทย โดยกรมเจรจาการค้า ฯ
ได้ คั ด เลื อ กสิ น ค้ า โดยพิ จ ารณาจากรายการสิ น ค้ า ในส่ ว นที่ ๑ ที่ ป ระเทศสมาชิ ก CPTPP มี ศั ก ยภาพ
ในการแข่งขันสูงกว่าประเทศที่ไทยได้เปิดตลาดสินค้านั้นภายใต้ FTA ที่มีอยู่แล้ว สรุปรายงานผลการศึกษาได้
ดังนี้
(๑.๑) กลุ่ ม ประเทศที่ ไทยมี FTA และเปิ ดตลาดเกือบร้อยละ ๑๐๐ แล้ ว
ได้แก่ บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ชิลี
(๑) สิ น ค้าที่ คาดว่าไทยจะได้ป ระโยชน์จากเวียดนาม ได้แก่ ยาสู บ
ยางนอก และจากมาเลเซีย ได้แก่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ ข้าว
๖๐

(๒) สินค้าที่คาดว่าไทยจะอ่อนไหว ไทยไม่มีรายการสินค้าอ่อนไหว


คงเหลือกับประเทศเหล่านี้ ยกเว้นออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ที่ไทยยังคงมีอัตราภาษีอยู่ สาหรับสินค้านม ครีม
เครื่ อ งดื่ ม นม นมผงขาดมั น เนย (ไทยจะเปิ ด ตลาดให้ ทั้ ง สองประเทศภายใต้ TAFTA และ TNZCEP
ในปี ๒๕๖๘)
(๑.๒) กลุ่มประเทศที่ไทยมี FTA แต่ยังเปิดตลาดไม่ถึงร้อยละ ๑๐๐ ได้แก่
ญี่ปุ่น
(๑) สิ นค้าที่คาดว่าไทยจะได้ประโยชน์ ภายใต้ความตกลง CPTPP
มีสินค้าหลายรายการที่ญี่ปุ่นเปิดตลาดเพิ่มเติม เนื่องจากความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย - ญี่ปุ่น หรือ JTEPA
ญี่ ปุ่ น เปิ ดตลาดให้ ไทยเพีย งร้ อยละ ๘๘ เช่น เนื้อสั ตว์ เช่น เนื้อสุ กร ไก่แช่แข็ง น้ าตาลและอาหารแปรรูป
ปลากระป๋อง ไส้กรอก แฮม เครื่องปรุง และน้าเชื่อม
(๒) สินค้าที่คาดว่าไทยจะอ่อนไหว ภายใต้ความตกลง JTEPA ไทย
ได้เปิดตลาดสินค้าเกือบทั้งหมดให้กับญี่ปุ่นแล้ว โดยหากไทยเข้าร่วมความตกลง CPTPP คาดว่าสินค้าที่ญี่ปุ่น
อาจส่งออกมาไทยเพิ่มมากขึ้นและเป็นสินค้าที่ไทยมีความอ่อนไหว ยังไม่เปิดตลาดให้ญี่ปุ่นภายใต้ความตกลง
JTEPA และความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเซียน - ญี่ปุ่น (AJCEP) ได้แก่ ชา ข้าว ยานยนต์
เปรู
(๑) สิ นค้าที่คาดว่าไทยจะได้ประโยชน์ ภายใต้ความตกลง CPTPP
มี สิ น ค้ า หลายรายการที่ เปรู เปิ ด ตลาดเพิ่ ม เติ ม เนื่ อ งจากความตกลงการค้ า เสรีไทย - เปรู ยั ง คงมี สิ น ค้ า
อีกร้อยละ ๓๐ ของจานวนรายการสินค้าทั้งหมดที่ไทยและเปรูยังไม่เปิดตลาดให้กัน เช่น ยานยนต์ แป้งมัน
พลาสติก เครื่องใช้ไฟฟ้า
(๒) สิ น ค้ าที่ ค าดว่า ไทยจะอ่ อ นไหว ภายใต้ ค วามตกลงการค้ าเสรี
ไทย - เปรู ยังคงมีสินค้าอีกร้อยละ ๓๐ ของจานวนรายการสินค้าทั้งหมดที่ไทยและเปรูยังไม่เปิดตลาดให้กัน
โดยสินค้าที่เปรูอาจส่งออกมาไทยเพิ่มมากขึ้น อาทิ กาแฟ นมและครีม ปลาป่น เอทิลแอลกอฮอล์ มะเขือเทศ
ปรุ ง แต่ ง ในจ านวนนี้ สิ น ค้ า ที่ ไ ทยอาจมี ค วามอ่ อ นไหวหากเปิ ด ตลาดภายใต้ CPTPP คื อ กาแฟ นม
และครีม ปลาป่น ทั้งนี้ แม้ปลาป่นจะเป็นสินค้าที่ไทยอ่อนไหว แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นสินค้าที่ไทยต้องการ
นาเข้าเป็นวัตถุดิบเพื่อทาอาหารสัตว์ โดยเปรูเป็นประเทศผู้ส่งออกปลาป่ นอันดับหนึ่งของโลก และเป็นแหล่ง
นาเข้าอันดับ ๘ ของไทย
(๑.๓) กลุ่มประเทศที่ไทยยังไม่มี FTA ด้วย ได้แก่
แคนาดา
(๑) สินค้าที่คาดว่าไทยจะได้ประโยชน์ ชิ้นส่วนยานยนต์ ถุงมือยาง
ทูน่า พาสตา อาหารแปรรูป เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องประดับและอัญมณี
(๒) สิ น ค้ า ที่ แ คนาดาอาจส่ งออกมาไทยเพิ่ ม มากขึ้ น อาทิ เนื้ อ วั ว
และผลิ ต ภั ณ ฑ์ เนื้ อ สุ ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ กาแฟ ข้า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ ยารัก ษาโรคและวิ ต ามิ น เครื่อ งส าอาง
ของที่ทาด้วยพลาสติก ของที่ทาด้วยกระดาษ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า และยานยนต์ ในจานวนนี้สินค้า
ที่ไทยอาจมีความอ่อนไหวหากเปิดตลาดภายใต้ CPTPP คือ เนื้อสุกร กาแฟ ยารักษาโรคและวิตามิน
เม็กซิโก
(๑) สิ น ค้ า ที่ ค าดว่ า ไทยจะได้ ป ระโยชน์ ยานยนต์ แ ละชิ้ น ส่ ว น
เครื่องใช้ไฟฟ้า ยางล้อ เครื่องประดับและอัญมณี ข้าวและแป้ง
๖๑

(๒) สิ น ค้ า ที่ เม็ ก ซิ โ กอาจส่ ง ออกมาไทยเพิ่ ม มากขึ้ น อาทิ กาแฟ


พริกไทย อโวคาโด ช็อกโกแลต มะเขือเทศปรุงแต่ง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (เตกิล่า) รองเท้า กระดาษและบรรจุ
ภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ ในจานวนนี้สินค้าที่คาดว่าไทยอาจอ่อนไหว
หากเปิดตลาดภายใต้ CPTPP ได้แก่ กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (เตกิล่า) และยานยนต์
อนึ่ง การศึกษาวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นการประเมินในเบื้องต้นโดยไม่ได้นาค่าขนส่ง
มารวมด้วย รวมถึงรายการสินค้าที่ได้จากการศึกษาเป็นการพิจารณาในเบื้องต้นของกรมเจรจาการค้าระหว่าง
ประเทศเพี ย งหน่ ว ยงานเดี ย ว ซึ่ งในการเจรจาจริ งต้ อ งมี ก ารหารือ และรับ ฟั งความคิ ด เห็ น จากหน่ ว ยงาน
ที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน อาทิ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สานักงาน
เศรษฐกิจการเกษตร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
(๒) ประเด็ นกฎถิ่น กาเนิด สิ นค้ า กฎถิ่น กาเนิ ดสิ น ค้าภายใต้ CPTPP มี เงื่อนไข
การได้ถิ่นกาเนิดอยู่ ๓ ข้อ ซึ่งระบุไว้ในมาตรา ๓.๒ (Article ๓.๒ : Originating Goods) กล่าวคือ (๑) การได้มา
ทั้ งหมดหรื อผลิ ตขึ้ น ทั้ งหมดภายในประเทศภาคี CPTPP หนึ่ งหรือหลายประเทศก็ ได้ (wholly obtained
or produced entirely in the territory of one or more of the Parties) หรื อ (๒) การผลิ ต ทั้ งหมดภายใน
ประเทศภาคี CPTPP หนึ่ งหรือหลายประเทศก็ได้ จากวัตถุดิบที่ได้ถิ่นกาเนิด (produced entirely in the
territory of one or more of the Parties, exclusively from originating materials) หรือ (๓) การผลิ ต
ทั้งหมดภายในประเทศภาคี CPTPP หนึ่งหรือหลายประเทศก็ได้ ภายใต้เงื่อนไขว่าสินค้านั้นผ่านเกณฑ์ที่กาหนด
ไว้ในบั ญ ชีกฎถิ่น กาเนิ ดเฉพาะรายสิ น ค้า (produced entirely in the territory of one or more of the
Parties using non - originating materials provided the good satisfies all applicable requirements
of Product - Specific Rules of Origin) ซึ่ งประกอบด้ ว ย (๓.๑) เกณฑ์ สั ด ส่ ว นมู ล ค่ าการผลิ ต ในภู มิ ภ าค
(Regional Value Content : RVC) (๓.๒) เกณฑ์การเปลี่ยนพิกัดศุลกากร (Change of Tariff Classification :
CTC) และ/หรือ (๓.๓) เกณฑ์กระบวนการผลิตเฉพาะ (Specific Process : SP)
คณะกรรมาธิ การมี ข้ อ สั งเกตต่ อข้ อ บทกฎถิ่ น ก าเนิ ด สิ น ค้ าภายใต้ ค วามตกลง
CPTPP ดังนี้ (๑) เนื้อหาในข้อบทมีความละเอียด ซับซ้อน แนวโน้มการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ค่อนข้างมีความยุ่งยาก
(๒) กรณีเป็นชิ้นส่วนองค์ประกอบในห่วงโซ่อุปทาน เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ ซึ่งมีบางกรณีที่บางชนิดไม่ได้เกณฑ์
ถิ่นกาเนิดสินค้า แต่ยังสามารถนาส่วนที่ยังไม่ได้ถิ่นกาเนิด (ในส่วนที่ผลิตจริงในภาคี CPTPP) ไปสะสมมูลค่า
ร่วมกับชิ้นส่วนอื่น เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ถิ่นกาเนิดสินค้าได้ (๓) หลักเกณฑ์การรับรองตนเอง (Self-Declaration)
ถื อ เป็ น รู ป แบบเฉพาะของ CPTPP และ (๔) หากกรอบ CPTPP ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ กรอบข้ อ ตกลงอื่ น ๆ
ผู้ประกอบการต้องเลือกว่าจะใช้สิทธิตามกรอบใด ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่า ความตกลง CPTPP เปิดให้ประเทศภาคี
สามารถนามูลค่าการผลิตสินค้าวัตถุดิบหรือกึ่งสาเร็จรูปที่เกิดขึ้นในภูมิภาค CPTPP มาสะสมถิ่นกาเนิดได้ตาม
มูล ค่าที่เกิดขึ้น จริง ถึงแม้สิน ค้าวัตถุดิบ หรือกึ่งส าเร็จรูปนั้นจะได้ห รือไม่ได้ถิ่นกาเนิดก็ตาม ซึ่งแตกต่างจาก
ความตกลง FTA อื่น ที่ห ากไม่ ได้ ถิ่น ก าเนิ ดจะไม่ส ามารถน ามูล ค่ามาสะสมถิ่น กาเนิ ดได้ ถือเป็ นข้อ ดีที่ ช่ว ย
ส่ งเสริ มการใช้วัต ถุ ดิบ และส่ งเสริ ม ให้ มี ก ารเชื่อ มโยงห่ ว งโซ่อุ ป ทานระหว่างประเทศภาคี CPTPP ด้ว ยกั น
นอกจากนี้ กฎถิ่นกาเนิดสินค้าที่ใช้กับอุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มเป็นเงื่ อนไข Yarn - Forward ก็ใช้
เงื่อนไขการเปลี่ยนพิกัดศุลกากร โดยกาหนดให้ต้องใช้ด้ายที่ผลิตในประเทศภาคีเป็นเงื่อนไขตั้งต้น จึงจะผ่าน
เกณฑ์การได้ถิ่นกาเนิดสินค้า ซึ่งเป็นเงื่อนไขที่ช่วยเพิ่มโอกาสในการส่งออกสินค้าสิ่งทอจากไทยไปยังประเทศภาคี
CPTPP เพราะไทยมีฐานการผลิตด้ายในประเทศ
๖๒

(๓) ประเด็น Free Zone หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนมีข้อกังวลต่อ Article


๒.๕ (Waiver of Customs Duties) ภายใต้ บ ทว่าด้ว ยการค้าสิ น ค้าในความตกลง CPTPP ว่า อาจกระทบ
ต่อมาตรการสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิตภายในประเทศโดยการยกเว้นภาษีนาเข้า รวมทั้งการยกเว้นภาษี
น าเข้าสิ น ค้าที่ ผ ลิ ตใน Free Zone เข้ามาจาหน่ ายในประเทศไทยภายใต้มาตรา ๑๒ แห่ งพระราชบัญ ญั ติ
พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
อย่างไรก็ดี ข้อกาหนดใน Article ๒.๕ (Waiver of Customs Duties ภายใต้
ความตกลง CPTPP มิได้ห้ามประเทศสมาชิกมีมาตรการยกเว้นอากร แต่ห้ามเพียงไม่ให้ประเทศสมาชิกกาหนด
หลั ก เกณฑ์ บ างประการเป็ น เงื่อ นไขปฏิ บั ติ (performance requirement) ในการได้ รั บ สิ ท ธิย กเว้ น อากร
ดั ง กล่ า ว ซึ่ ง รวมถึ ง การก าหนดให้ ผู้ ป ระกอบการต้ อ งซื้ อ สิ น ค้ า อื่ น ภายในประเทศหรื อ ก าหนดสั ด ส่ ว น
การใช้วัตถุดิบภายในประเทศในการผลิต (local content) ซึ่งข้อห้ามใช้หลักเกณฑ์ดังกล่าวไม่ได้เป็นหลักการ
ใหม่สาหรับไทย เนื่องจากเป็นหลักการที่ไทยผูกพันอยู่แล้วภายใต้ความตกลงขององค์การการค้าโลก (World
Trade Organization : WTO) ที่ ก าหนดไม่ ให้ ป ระเทศสมาชิ ก ให้ ก ารปฏิ บั ติ ต่ อ สิ น ค้ า ภายในประเทศที่ ดี
กว่ า สิ น ค้ า น าเข้ า อาทิ ข้ อ ๓ แห่ ง ความตกลงว่ า ด้ ว ยการอุ ด หนุ น และมาตรการตอบโต้ ก ารอุ ด หนุ น
(Agreement on Subsidies and Countervailing Measures : ASCM) ที่ห้ามการอุดหนุนที่กาหนดเงื่อนไข
เกี่ยวกับ การใช้ สิน ค้าภายในประเทศ และข้อ ๒ และภาคผนวกของความตกลงว่าด้ว ยมาตรการการลงทุน
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การค้ า (Agreement on Trade-Related Investment Measures : TRIMs) ที่ ห้ า มไม่ ใ ห้
กาหนดเงื่อนไขในการรั บ สิ ท ธิป ระโยชน์ว่าจะต้องซื้อหรือใช้สิ นค้ าที่ ผ ลิ ตภายในประเทศ เป็น ต้น โดยสิ่ งที่
Article ๒.๕ ภายใต้ CPTPP มีเพิ่มเติมจากเดิม คือ ได้ขยายขอบเขตให้รวมถึงสาขาการบริการด้วย
ทั้งนี้ กรมศุลกากรได้รายงานว่า ได้มีการกาหนดเงื่อนไขสัดส่วนของการใช้
วัตถุดิบในประเทศในการยกเว้นภาษีนาเข้าสินค้าที่ผลิตใน Free Zone และนาเข้ามาจาหน่ายภายในประเทศ
ซึ่งเกี่ยวข้องกับการกาหนดเงื่อนไขสัดส่วนการผลิตของสินค้าเท่านั้น ไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกาหนดสัดส่วน
การใช้บริการภายในประเทศ โดยได้มีการประเมินการใช้สิทธิยกเว้นอากรของภาคเอกชนซึ่งมีมูลค่าเฉลี่ยต่อปี
ประมาณ ๔๘๙,๐๐๐ ล้านบาท แบ่งเป็นการใช้สิทธิใน Free Zone ประมาณ ๒๘๕,๐๐๐ ล้านบาท และการใช้
สิทธิการยกเว้นหรือลดอัตราอากรอื่น ๆ นอกเหนือไปจากสิทธิใน Free Zone ประมาณ ๒๐๓,๐๐๐ ล้านบาท
๓) ประเด็นการค้าบริการ การลงทุน และการเข้าเมืองชั่วคราวสาหรับนักธุรกิจ
ข้อบทด้านการค้าบริการ และการลงทุน ซึ่งผู้ประกอบการในประเทศ รวมถึงภาค
บริการท่องเที่ยว กลุ่มก่อสร้าง และโลจิสติกส์ ได้ยื่นหนังสือถึงคณะกรรมาธิการแสดงข้อห่วงกังวลและแสดงความ
ไม่ พ ร้ อ ม โดยคณะกรรมาธิ ก ารได้ ศึ ก ษาและพิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า กลุ่ ม ที่ จ ะได้ รั บ ผลกระทบมากที่ สุ ด
คือ ผู้ประกอบการ SMEs ซึ่งก็สามารถเจรจาขอสงวนได้เช่นเดียวกับประเทศสมาชิกอื่น ๆ นอกจากนี้ หากไทย
ตัดสินใจเข้าร่วมความตกลง CPTPP ไทยก็ยังสามารถเจรจาต่อรอง และจัดทาข้อสงวนที่จะไม่เปิดตลาด หรือ
กาหนดเวลาปรับตัว (transition period) เฉพาะกลุ่มที่ไม่มีความพร้อมได้ ซึ่งจะต้องมีการหารือร่วมกันระหว่าง
ภาครัฐและผู้ประกอบการ เพื่อกาหนดท่าทีในการเจรจาของไทยที่ชัดเจนต่อไป
สาหรับ ข้อบทการเข้าเมืองชั่วคราวสาหรับนักธุรกิจ จะเกี่ยวข้องกับการผูกพัน
ประเภทของบุคคลธรรมดา (ไม่รวมแรงงาน) ของสมาชิก CPTPP ที่จะอนุญาตให้เข้าเมืองและโดยมีกาหนด
ระยะเวลาอนุญาตให้พานักในประเทศไทยได้เป็นการชั่วคราว ซึ่งเป็นการเปิดตลาดภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย
ปั จ จุ บั น ส าหรั บ ข้ อ กั งวลถึ งผลกระทบต่อ การประกอบวิช าชี พ ในไทยนั้ น เป็ น ความเข้ าใจที่ ค ลาดเคลื่ อ น
เนื่องจากยังสามารถจัดทาข้อสงวนได้ อีกทั้งไทยยังมีกฎหมายเฉพาะที่สามารถกาหนดเงื่อนไขในการเข้ามา
๖๓

ทางานของคนต่างชาติในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะแตกต่างกับการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว ที่เปิดให้


นักลงทุนต่างชาติเข้ามาจดทะเบียนประกอบธุรกิจได้
๔) ประเด็นการคุ้มครองสิทธิแรงงาน
ข้อบทด้านแรงงานใน CPTPP ระบุ ให้ ส มาชิกต้องมีกฎหมายเพื่ อคุ้มครองสิ ท ธิ
แรงงานที่เป็ น มาตรฐานสากล ตามหลักการขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour
Organization : ILO) ใน ๔ ประเด็ น ๖ ได้ แก่ (๑) เสรีภ าพในการสมาคมและสิ ท ธิในการรวมตัว ที่ จะเจรจา
ต่อรอง (๒) การขจัดการใช้แรงงานบังคั บในทุกรูปแบบ (๓) การขจัดการใช้แรงงานเด็ก (๔) การขจัดการเลือก
ปฏิบัติในการจ้างงานและอาชีพ
ปัจจุบัน การให้สิทธิและการคุ้มครองต่าง ๆ แก่แรงงานต่างด้าวของประเทศไทย
ถือว่ามีความก้าวหน้ากว่าประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะสมาชิก CPTPP อาทิ แรงงานต่างด้าวที่เข้ามาในไทยอย่าง
ผิดกฎหมาย ยังคงได้รับ สิ ทธิและการคุ้มครองเท่าเที ยมกับแรงงานไทยภายใต้กฎหมายของกรมสวัส ดิการ
และคุ้มครองแรงงาน อีกทั้งแรงงานต่างด้าวยังสามารถเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานได้ นอกจากนี้ กรมสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ก็อยู่ระหว่างการแก้ไขพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
เพื่อให้แรงงานต่างด้าวสามารถเป็นทั้งกรรมการ และกรรมการบริหารในสหภาพแรงงานได้ในสัดส่วน ๑ ต่อ ๕
อย่างไรก็ดี ในการเข้าร่ว มความตกลง CPTPP ไทยยังมีข้อกังวลว่า ไทยยังมิได้
ให้สิทธิแรงงานต่างด้าวในการก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงาน โดยพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
กาหนดให้ผู้มีสิทธิก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงานต้องเป็นบุคคลที่มีสัญชาติไทยเท่านั้น ทั้งนี้ กรมสวัสดิการและ
คุ้มครองแรงงาน อยู่ระหว่างหารือกับ ILO ถึงการตีความว่า พันธกรณีความตกลง CPTPP ครอบคลุมถึงการให้
สิทธิแรงงานต่างด้าวในการก่อการจัดตั้งสหภาพหรือไม่ ซึ่งกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานได้คาดการณ์ว่า
ILO อาจเห็นว่า ไทยต้องให้สิทธิดังกล่าวโดยไม่เลือกปฏิบัติแก่แรงงานต่างด้าวถึงจะเป็นการปฏิบัติที่สอดคล้อง
กับความตกลง CPTPP
๕) ประเด็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)
พันธกรณีพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในความตกลง CPTPP มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
ความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภค และหลี ก เลี่ ย งที่ จ ะสร้ า งอุ ป สรรคที่ ไม่ จ าเป็ น ต่ อ การใช้ แ ละพั ฒ นาพาณิ ช ย์
อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีประเด็นต่าง ๆ อาทิ การเปิดให้ส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนอย่างเสรี การห้ามรัฐ
บังคับให้ผู้ให้บริการ e - commerce ต้องตั้ง server ในประเทศไทย การห้ามเก็บภาษีศุลกากรสาหรับการส่งผ่าน
ทางอิเล็กทรอนิ กส์ (e - transmissions) เช่น การดาวน์โหลดภาพยนตร์ เพลง หนังสือหรือสิ่งพิมพ์ ฯลฯ ทั้งนี้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในประเด็นดังกล่าว อาทิ สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เห็นว่า กฎหมายหลัก
ที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน และที่กาลังดาเนินการอยู่มีความสอดคล้องกับ CPTPP แล้ว


ทั้งนี้ ความตกลง CPTPP มิได้บังคับให้สมาชิกต้องให้สตั ยาบันอนุสญ
ั ญาหลัก (Core Conventions) ทั้ง ๘ ฉบับของ ILO ซึ่ง
ครอบคลุมทั้ง ๔ ประเด็นตามที่ CPTPP กาหนด ซึ่งปัจจุบันไทยได้มีการให้สัตยาบันอนุสัญญาหลักของ ILO ไปแล้ว ๖ ฉบับ
เหลือเพียง ๒ ฉบับ คือ อนุสญ ั ญาฉบับที่ ๘๗ และฉบับที่ ๙๘ ซึ่งว่าด้วยเสรีภาพในการสมาคม และสิทธิในการรวมตัวที่จะ
เจรจาต่อรอง
๖๔

คณะกรรมาธิก ารรับ ทราบข้อมู ล จากกระทรวงดิ จิทัล เพื่ อเศรษฐกิ จและสั งคม


และสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ว่า
ปัจจุบันประเทศไทยมีการเชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศแบบหลายช่องทาง (multi - gateway)
อีกทั้งมีการออกกฎหมายที่กากับดูแลในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ e - commerce แล้ว ทั้งหมด ๑๔ ฉบับ ได้แก่
(๑) พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๔
(๒) พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
(๓) พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
(๔) พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒
(๕) พระราชบัญญัติสานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒
(๖) พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐
(๗) พระราชบัญญัติองค์การจัดสรรคลื่นความถี่และกากับการประกอบกิจการ
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
(๘) พระราชบัญญัติองค์การจัดสรรคลื่นความถี่ และกากับการประกอบกิจการ
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
(๙) พระราชบัญญัติองค์การจัดสรรคลื่นความถี่ และกากับการประกอบกิจการ
วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒
(๑๐) พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(๑๑) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
(๑๒) พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒
(๑๓) พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒
(๑๔) พระราชบัญญัติสภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒
๖) ประเด็นกลไกระงับข้อพิพาทระหว่างนักลงทุนกับรัฐ (Investor - State Dispute
Settlement : ISDS)
ข้อ บทการลงทุ น ของความตกลง CPTPP ประกอบไปด้ ว ย ๔ ประเด็ น ได้ แ ก่
(๑) การส่ งเสริม การลงทุน (๒) การอานวยความสะดวกการลงทุ น (๓) การเปิดเสรีการลงทุ น ซึ่ งเป็น สิ ท ธิ
ของผู้เจรจาที่จะสามารถสงวนมาตรการที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีและสาขาอ่อนไหวที่ไม่ต้องการเปิดตลาด
หรื อเปิ ด เพี ย งบางส่ ว นได้ และ (๔) การคุ้ม ครองการลงทุ น ซึ่ งรวมถึงประเด็ น การระงับ ข้ อพิ พ าทระหว่าง
นักลงทุนกับรัฐ (ISDS) ทั้งนี้ พันธกรณีที่ไทยจะต้องรับในบทการลงทุนของ CPTPP ที่เกินกว่าความตกลงอื่น
ที่ไทยเป็นภาคีในปัจจุบัน ได้แก่ (๑) การห้ามกาหนดเงื่อนไขให้นักลงทุนปฏิบัติ Performance Requirements
ที่มากกว่าความตกลงว่าด้วยมาตรการการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการค้า (TRIMs Plus) ภายใต้องค์การการค้าโลก
(World Trade Organization : WTO) ในประเด็นการห้ามกาหนดให้ซื้อหรือห้ ามซื้อเทคโนโลยีเฉพาะ และ
(๒) การคุ้ม ครองการลงทุ น ซึ่งรวมถึ งการลงทุ น ในรูป แบบ portfolio โดยไม่ ต้ องขออนุ ญ าตการคุ้ มครอง
และการดาเนินการในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ (Pre - establishment)
กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย ให้ข้อมูลว่า หลักการเรื่องการคุ้มครองการลงทุน
เป็ น สิ่ งที่ ไทยยอมรั บ มานานแล้ ว ตั้ งแต่ ปี ๒๕๐๔ ภายใต้ ค วามตกลงเพื่ อ ส่ งเสริม และคุ้ ม ครองการลงทุ น
(Bilateral Investment Treaties : BITs) อีกทั้งยังมีอยู่ในบทการลงทุนภายใต้ความตกลงการค้าเสรี (Free
Trade Agreements : FTAs) ของไทยกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในระดับทวิภาคีและภูมิภาค โดย ISDS เป็นกลไก
๖๕

ที่ ช่ วยสร้ างความเชื่ อมั่ นให้ กั บนั กลงทุ นและสร้างภาพลั กษณ์ ที่ ดี ต่ อประเทศ ทั้ งนี้ นั บตั้ งแต่ ปี ๒๕๐๔ ไทยมี
การจัดทา BITs กับประเทศต่าง ๆ ซึ่งมีผลใช้บังคับ จานวน ๓๖ ฉบับ และมี FTAs ที่มีข้อบทด้านการคุ้มครอง
การลงทุน จานวน ๙ ฉบับ โดยที่ผ่านมามีคดีภายใต้ความตกลงระหว่างประเทศแล้ว ๓ คดี (เจรจาไกล่เกลี่ย
สาเร็จ ๑ คดี) เป็นคดีภายใต้ BITs ๒ คดี และคดีภายใต้ FTA ๑ คดี
ในภาพรวม ข้อบทการลงทุนในความตกลง CPTPP มีการร่างบทบัญญัติที่ชัดเจน
เพื่อมิให้ คณะอนุ ญาโตตุลาการตีความเองและเพิ่มบทบัญญัติที่ให้อานาจรัฐในการกาหนดนโยบาย (Policy
Space Safeguards) มากกว่ า ความตกลงที่ ไทยเคยท ามา โดยรั ฐ สามารถใช้ ม าตรการที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์
เพื่อปกป้องผลประโยชน์สาธารณะ เช่น มาตรการเพื่อความปลอดภัยด้านสุขภาพ และความมั่นคง ตราบที่
มาตรการดังกล่าวอยู่บนพื้นฐานของความเป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ นอกจากนี้ ความตกลง CPTPP ยังมี
ข้ อ บทเฉพาะเกี่ ย วกั บ มาตรการควบคุ ม ยาสู บ (tobacco control measures) ที่ ใ ห้ รั ฐ สามารถปฏิ เสธ
รับการฟ้องร้อง ISDS ที่เกี่ยวกับมาตรการควบคุมยาสูบได้
กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ แจ้งว่า ไทยได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการด้าน
การคุ้ ม ครองการลงทุ น ระหว่างประเทศ ภายใต้ ระเบี ย บส านั ก นายกรัฐ มนตรีว่ าด้ ว ยการด าเนิ น งานด้ า น
การคุ้มครองการลงทุนระหว่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีอานาจหน้าที่สาคัญ ได้แก่ (๑) พิจารณานโยบายด้าน
การคุ้ ม ครองการลงทุ น ของไทยและบู ร ณาการงานระหว่างส่ ว นราชการที่ เกี่ ยวข้ อ ง (๒) ให้ ค าปรึ ก ษาแก่
ส่วนราชการในกรณีที่ไม่มั่นใจว่ามาตรการที่ออกมาจะผิดพันธกรณีหรือไม่ ซึ่งจะช่วยป้องกันการเกิดข้อพิพาท
และ (๓) เป็นเวทีในการปรึกษาหารือในเรื่องของการดาเนินคดี ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการเห็นว่า คณะกรรมการฯ
สามารถมี บ ทบาทในการเสริ ม สร้ างความตระหนั ก รู้ ในเรื่อ งพั น ธกรณี ร ะหว่ างประเทศที่ เกี่ ย วข้ อ งให้ แ ก่
หน่วยงานต่าง ๆ แต่มีข้อสังเกตว่า จะแก้ไขข้อพิพาทได้หรือไม่
ในประเด็น การลงทุนใน Portfolio ส านักงานคณะกรรมการกากับหลั กทรัพย์
และตลาดหลั กทรัพ ย์ และธนาคารแห่ งประเทศไทย ได้ชี้แจงว่า มาตรการที่ใช้กากับดูแลภาคการเงินและ
การลงทุ น ที่ เป็ น Portfolio ของไทยในปั จ จุ บั น ไม่ ขั ด ต่ อ CPTPP และเห็ น ว่ า CPTPP มี ข้ อ ยกเว้ น ต่ า ง ๆ
เพียงพอที่อนุญาตให้รัฐสามารถออกมาตรการที่เกี่ยวข้องในการกากับดูแลภาคการเงินและการลงทุนที่เป็น
Portfolio รวมทั้งเพื่อรักษาเสถียรภาพทางระบบการเงิน (prudential measures) ได้ ทั้งนี้ หากมีข้อพิพาท
เกี่ ย วกั บ ความชอบธรรมในการใช้ ม าตรการดั งกล่ าว คณะอนุ ญ าโตตุ ล าการสามารถร้อ งขอให้ ห น่ ว ยงาน
ผู้มีอานาจของรัฐประเทศฝ่ายนักลงทุนและรัฐประเทศผู้ถูกฟ้องจัดทาคาวินิจฉัยร่วม (joint determination)
ในประเด็นดังกล่าว โดยคาวินิจฉัยร่วมดังกล่าวจะมีผลผูกพันต่อคณะอนุญาโตตุลาการในการตัดสินคดีด้วย
ในประเด็นการคุ้มครองการลงทุนในช่วงก่อนการจัดตั้งกิจการ (Pre-establishment)
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ แจ้งว่า โดยที่ขอบเขตของ Pre-establishment ภายใต้ CPTPP ยังขาด
ความชัดเจน แต่มีการขยายความของคานิยามของนักลงทุนที่ได้รับความคุ้มครองในช่วง Pre-establishment
ไว้ในระดับ หนึ่ งแล้ วว่า จะต้องมีการดาเนิน การที่เป็นรูป ธรรมในการจัดตั้งธุรกิจ ซึ่งรวมถึงกรณี ที่รัฐ มีส่ ว น
ในการทาให้เอกชนเริ่มการลงทุนทั้งที่ยังไม่ได้รับใบอนุญาตต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น หากไทยเข้าร่วมการเจรจา
เป็นสมาชิก CPTPP ก็ควรหารือกับประเทศภาคีเพื่อขอความชัดเจนในขอบเขตของ Pre-establishment
๗) ประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ
กรมบัญชีกลาง ได้รายงานถึงภาพรวมและหลักการสาคัญของข้อบทการจัดซื้อ
จัดจ้ างโดยรั ฐใน CPTPP คือ การไม่เลื อกปฏิ บัติ กับสิ น ค้า บริการ และการก่อสร้าง รวมถึงผู้ ประกอบการ
ของประเทศภาคี และห้ า มไม่ ให้ ภ าคี ก าหนด offset ในกระบวนการจัด ซื้ อ จั ด จ้ าง นอกจากนี้ ยั งรวมถึ ง
หลักปฏิบัติในเรื่องการแข่งขันอย่างเป็นธรรม เช่น การเผยแพร่ข้อมูลที่เกี่ ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างในเวลา
๖๖

เหมาะสมเพื่ อให้ ผู้ ส นใจมีเวลาเพี ย งพอในการจัด ท าข้อเสนอและยื่น ประกวดราคา การพิ จารณาข้อเสนอ


อย่างเป็นธรรมและเป็นกลาง การอานวยความสะดวกให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเข้าร่วมแข่งขัน
ประกวดราคาในโครงการการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ และการมีขั้นตอนสาหรับร้องเรียน อุทธรณ์
ผลการตัดสิน เป็นต้น อย่างไรก็ดี ความตกลง CPTPP กาหนดข้อยกเว้น ด้านความมั่นคง และอนุญาตให้ภาคี
ที่ เป็ น ประเทศก าลั ง พั ฒ นาสามารถใช้ ม าตรการเปลี่ ย นผ่ า น (transitional measures) เช่ น เวี ย ดนาม
และมาเลเซีย ที่ไม่ได้เปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐในส่วนภูมิภาคในทันทีที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ การกาหนด
มูลค่าขั้นต่าของสัญญาแรกเริ่ม (Initial Threshold) ให้สูงและทยอยลดลงจนระยะเวลาเปลี่ยนผ่านสิ้นสุดลง
เพื่อให้เวลาผู้ประกอบการภายในประเทศปรับตัวและแข่งขันในอนาคตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่น เวียดนาม
และมาเลเซียที่ขอระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน ๒๕ ปี และ ๒๐ ปี ตามลาดับ รวมทั้งขอสงวนสิทธิในการให้สิทธิพิเศษ
ทางด้านราคาและการใช้ offset
เนื่องจากไทยไม่เคยเปิดตลาดการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐภายใต้ความตกลงทางการ
ค้าเสรีใดมาก่อน การเข้าเป็นภาคีค วามตกลง CPTPP จึงจาเป็นต้องเจรจาในส่วนการจัดทาภาคผนวกซึ่งเป็น
ส่ ว นก าหนดรายละเอี ย ดการผู ก พั น การเปิ ด ตลาดที่ ค รอบคลุ ม หน่ ว ยงานจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งสิ น ค้ า บริ ก าร
และก่ อ สร้ าง และมาตรการเปลี่ ย นผ่ าน นอกจากนี้ ต้ อ งมีก ารปรับ ปรุงกฎระเบี ยบภายในประเทศเพื่ อ ให้
สอดคล้ อ งกั บ ข้ อบทการจั ดซื้ อ จั ด จ้ างโดยรัฐ ในความตกลง CPTPP เช่ น ระยะเวลาการประกาศเชิญ ชวน
กระบวนการอุทธรณ์ และรูปแบบสัญญา เป็นต้น
ทั้ งนี้ คณะกรรมาธิ การได้ พิ จ ารณาข้ อ กังวลในข้อ บทการจั ด ซื้ อ จัด จ้ างโดยรั ฐ
ในความตกลง CPTPP ดังนี้
(๑) สินค้า remanufactured goods ความตกลง CPTPP ให้คาจากัดความของ
remanufactured goods ว่าเป็ น สิน ค้าที่เทียบเท่าหรือใกล้ เคียงสิ นค้าใหม่ ซึ่งมีเอกสารรับรองจากโรงงาน
ที่ ผ ลิ ต ว่ า เที ย บเท่ า หรื อ ใกล้ เคี ย งของใหม่ และห้ า มภาคี กี ด กั น การน าเข้ า สิ น ค้ า ดั ง กล่ า ว โดยสิ น ค้ า
remanufactured ครอบคลุมถึงเครื่องมือแพทย์ด้วย ซึ่งหน่วยงานสาธารณสุขและภาคประชาสังคม มีข้อห่วง
กังวลเกี่ยวกับคุณภาพ และมาตรฐานด้านความปลอดภัยของเครื่องมือแพทย์ที่เป็นสินค้า remanufactured
อย่างไรก็ดี คณะกรรมาธิการเห็นร่วมกันว่า หน่วยงานรัฐและเอกชนในฐานะผู้ซื้อสามารถกาหนดคุณลักษณะ
(specification) ของสินค้าได้ หากไม่ต้องการสินค้า remanufactured
(๒) การมีส่วนร่วม SMEs ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ คณะกรรมาธิการ
มีข้อห่วงกังวลถึงโอกาสและความสามารถทางการแข่งขันของ SMEs ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง หากไทย
เข้าร่วมความตกลง CPTPP อย่างไรก็ดี จากสถิติของกรมบัญชีกลางแสดงให้ เห็ นว่า โครงการที่ SMEs เป็น
ผู้ชนะการประกวดราคามีมูลค่าสัญญาต่ากว่ามูลค่าขั้นต่า (Threshold) ของความตกลง CPTPP (สินค้าและ
บริการ ๑๓๐,๐๐๐ SDR๗ หรือประมาณ ๕.๗๔ ล้านบาท และ ๕,๐๐๐,๐๐๐ SDR หรือประมาณ ๒๒๐.๗๕
ล้านบาท สาหรับ งานก่อสร้างของราชการส่วนกลาง) ผลกระทบต่อผู้ประกอบการ SMEs จึงอยู่ในวงจากัด
เท่านั้น นอกจากนี้ มีภาคี CPTPP บางรายขอยกเว้นมาตรการส่งเสริม SMEs ไว้ในภาคผนวก เช่น ออสเตรเลีย
แคนาดา เป็นต้น


๑ SDR = ๔๔.๑๕ บาท (ณ วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๓)
๖๗

(๓) พั ส ดุ ที่ รั ฐ ต้ อ งการส่ ง เสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น ภายใต้ ก ฎกระทรวงการคลั ง


กรมบัญชีกลางได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ๓๑ กิจกรรมที่รัฐส่งเสริมตามกฎกระทรวงกาหนดพัสดุและวิธีการ
จัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีมูลค่า ๒๑๙,๒๖๕ ล้านบาท ในปี ๒๕๖๒
เมื่อน ามาเปรี ยบเที ย บกับ มาตรการที่ป ระเทศภาคีอื่น ขอสงวน/ยกเว้นไว้มี ความคล้ ายคลึ งกัน และในบาง
กิจกรรมที่ไทยให้การสนับ สนุน ไม่อยู่ภายใต้ความครอบคลุมของความตกลง CPTPP อย่างไรก็ดี ไทยยังไม่มี
นโยบายการใช้ offset ที่ชัดเจนเป็นระบบทาให้การที่ไทยจะเข้าไปเจรจาขอยกเว้นมาตรการดังกล่าวกับคู่ภาคี
CPTPP ยังต้องร่วมกันกาหนดเงื่อนไขที่จะใช้เป็นท่าทีในการเจรจาต่อไป
(๔) กฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐของไทย ที่ไม่สอดคล้องกับความตกลง
CPTPP เช่ น กฎกระทรวงการคลั ง ไม่ ก าหนดวงเงิ น การจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งพั ส ดุ โ ดยวิ ธี เฉพาะเจาะจงในกรณี
ที่เกี่ยวพันกับงานต่อเนื่อง ในขณะที่การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐในความตกลง CPTPP ระบุวงเงินงบประมาณต้อง
ไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของมูลค่าสัญญาเดิม และกรอบระยะเวลาการประกาศการจัดซื้อจัดจ้างของไทยที่กาหนด
ระยะเวลาประกาศการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ างที่ สั้ น กว่ าในความตกลง CPTPP รวมทั้ ง รู ป แบบสั ญ ญาของภาครั ฐ
ในปัจจุบันที่ยังไม่เป็นสากล นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการได้หารือเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยใช้เงินบริจาค
ที่อาจเป็นช่องทางที่ประเทศต่าง ๆ ใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนสินค้า บริการ และการก่อสร้างจากประเทศตัวเอง
และเป็นช่องทางที่เอื้อประโยชน์ต่ อกลุ่มทุน ทั้งนี้ กรมบัญชีกลางชี้แจงว่า อยู่ระหว่างการปรับปรุงกฎหมาย
และระเบียบที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างในหลายประเด็น รวมถึงในส่วนที่ไม่สอดคล้องกับข้อบทจัดซื้อจัดจ้าง
โดยรัฐในความตกลง CPTPP
(๕) กระบวนการอุทธรณ์ และร้องเรียน ตามพระราชบั ญ ญั ติการจัดซื้อจัดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ มีส องขั้นตอน คือแจ้งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ วจึงส่ งต่อมา
ยังคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ ซึ่งไม่สอดคล้องกับ Article ๑๕.๑๙ ของความตกลง CPTPP ว่าด้วยการ
ทบทวนภายในประเทศ (Domestic Reviews) อย่างไรก็ดี คณะกรรมาธิการเห็นว่า ข้อบท CPTPP ดังกล่าว
ไม่ขัดกับ วิธีปฏิบัติที่ดาเนิน การอยู่ปั จจุบั น เนื่องจากวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองในเรื่องการอุทธรณ์ ตาม
พระราชบั ญญั ติการจัดซื้อจั ดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นการใช้ห ลั กการเดียวกันกับ
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยแบ่งเป็นระบบ ๒ ชั้น เพียงแต่ชั้นที่ ๒ เปลี่ยน
จากผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป เป็นคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แทน
เพื่อความเป็นกลางในการพิจารณาอุทธรณ์
(๖) การใช้ ม าตรฐานสากล ข้อ บทการจั ด ซื้ อ จัด จ้ างโดยรัฐ ภายใต้ ค วามตกลง
CPTPP กาหนดให้ใช้มาตรฐานสากล (International Standard) ในการกาหนดคุณสมบัติของสินค้า บริการ
และการก่อสร้างที่จะจัดซื้อจัดจ้างซึ่งอาจเป็นข้อเสียเปรียบสาหรับผู้ประกอบการไทย อย่างไรก็ดี หากสามารถ
พิสูจน์ได้ว่าแนวทางการกาหนดคุณสมบัติภายในประเทศเทียบเคียงกับมาตรฐานระหว่างประเทศก็สามารถใช้
มาตรฐานดังกล่าวได้
(๗) ข้อห่วงกังวลของสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย สมาคมช่างเหมา
ไฟฟ้าและเครื่องกลไทย และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย เช่น ความสามารถในการแข่งขันของ SMEs ไทย
การประกอบวิชาชีพ เช่น วิศวกร สถาปนิก ของบุคคลต่างชาติ และมาตรการสนับสนุนผู้ประกอบการไทย ทั้งนี้
ที่คณะกรรมาธิการ ได้มอบหมายให้กรมบัญชีกลางและสมาคมฯ ไปหารือในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความ
เข้าใจให้กับสมาคมฯ ซึ่งในหลายประเด็น คู่ภาคี ประเทศ CPTPP ได้ขอยกเว้นการเปิดตลาดจัดซื้อจัดจ้างใน
ส่วนที่เกี่ยวข้องกับ SMEs เช่น นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย เป็นต้น ส่วนข้อกังวลที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ
ของบุคคลต่างชาติ คณะกรรมาธิการได้ข้อสรุปว่า แม้มีใบประกอบวิชาชีพจากต่างประเทศก็ไม่ได้หมายความว่า
๖๘

ชาวต่ างชาติ จ ะสามารถเข้ามาประกอบอาชีพ โดยไม่ มีใบอนุญ าตจากหน่ วยงานไทย อย่างไรก็ดี เนื่องจาก


การเปิ ดตลาดการจั ดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ เป็นเรื่องใหม่ ทางสมาคมฯ ยังไม่มีการศึกษาถึงระยะเวลาที่ต้องการ
ในการปรับตัวหากไทยจะเข้าร่วมความตกลง CPTPP
(๘) หน่วยงานภาครัฐถูกกฎกระทรวงการคลังว่าด้วยการกาหนดพัสดุและวิธีการ
จัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องส่งเสริมหรือสนับสนุน พ.ศ. ๒๕๖๓ กาหนดให้จัดซื้อยาจากองค์การเภสัชกรรม (อภ.)
ในลาดับแรกอย่างน้อยร้อยละ ๓๐ ของงบประมาณการจัดซื้อยา ซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับความตกลง CPTPP
ทัง้ นี้ องค์การเภสัชกรรม (อภ.) ได้ชี้แจงถึงผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยาของประเทศ หากไทยเข้าร่วมความตกลง
CPTPP เนื่ อ งจาก อภ. มี พั น ธกิ จ ด้ า นความมั่ น คงและพั ฒ นาการทางยาของประเทศ และส านั ก งาน
คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) แจ้งว่า เนื่องจากกฎหมายจัดตั้งกาหนดให้ อภ. ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจที่มี
พันธกิจเพื่อความมั่นคงทางเวชภัณฑ์ยาของไทย และมีภารกิจในการส่งเงินเข้าคลัง ตามพระราชบัญญัติวินัย
การเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงต้องมีการดาเนินการในเชิงพาณิชย์ และได้รับประโยชน์จากกฎกระทรวง
ของการจัดซื้อจัดจ้างยาจากหน่ วยงานภาครัฐ เพื่ อให้ อภ. สามารถดาเนินการตามนโยบายตามพันธกิจได้
อย่างไรก็ดี คณะกรรมาธิการ ได้มีข้อสังเกตต่อการดาเนินการของ อภ. ว่าจะก่อให้เกิดภาระของหน่วยงาน
ภาครัฐที่จ ะต้องจัดซื้อจั ดจ้างยาในราคาที่ สูงกว่าราคาตลาดหรือไม่ และเป็นการดาเนินการเพื่อสั งคมและ
นาประโยชน์สูงสุดมาให้แก่ประชาชนหรือไม่
๘) ประเด็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานที่ได้รับสิทธิพิเศษเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ
หลักการสาคัญในข้อบทรัฐวิสาหกิจที่สมาชิกความตกลง CPTPP ต้องปฏิบัติตาม
ประกอบด้ ว ย (๑) การซื้ อ -ขายสิ น ค้ า และบริ ก ารของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ต้ อ งไม่ เลื อ กปฏิ บั ติ บ นพื้ น ฐานเหมื อ น
การตั ดสิ น ใจของภาคธุร กิจ (๒) การอุ ดหนุ น หรือ ให้ ค วามช่ว ยเหลื อแก่รัฐ วิส าหกิ จต้ องไม่ บิด เบื อ นการค้ า
และ (๓) มีความโปร่งใสในการเผยแพร่ข้อมูลของรัฐวิสาหกิจ
ส านั ก งานคณะกรรมการนโยบายรั ฐ วิ ส าหกิ จ (สคร.) ได้ น าเสนอถึ ง พั น ธกิ จ
ของรัฐวิสาหกิจที่ดาเนินการตามกฎหมายจัดตั้งและนโยบายของรัฐบาล ซึ่งในปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจ ๕๕ แห่ง
ภายใต้กากับ ดูแลของกระทรวงการคลั ง ซึ่งจากการที่ สคร. สอบถามและประชุมหารือร่วมกับรัฐวิส าหกิจ
มีรั ฐวิส าหกิจ ๑๑ แห่ ง แจ้ งข้อกังวลในการเข้าเป็ นสมาชิก CPTPP ได้แก่ (๑) การยาสู บ แห่ งประเทศไทย
(๒) การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ตแห่ งประเทศไทย (๓) การไฟฟ้ าส่ ว นภู มิ ภ าค (๔) บริษั ท ท่ าอากาศยานไทย จ ากั ด
(มหาชน) (๕) บริษั ท ปตท. จ ากัด (มหาชน) (๖) บริษั ท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (๗) การนิค ม
อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (๘) องค์การเภสัชกรรม (๙) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (๑๐) ธนาคารออมสิน
(๑๑) บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ๑๑ แห่ ง ได้ แ สดงข้ อ กั งวลเนื่ อ งจากรัฐ วิส าหกิ จ ส่ ว นใหญ่ ยังไม่ มี
ความพร้อม และรัฐวิสาหกิจมีทั้งการดาเนินงานในส่วนที่เป็นทั้งเชิงพาณิชย์และไม่ใช่เชิงพาณิชย์ที่อาจแยก
ออกจากกั น ได้ ไม่ ชั ด เจน โดยข้อ กั งวลที่ ส าคั ญ ได้ แก่ (๑) กรณี ที่ รัฐ วิส าหกิ จ มี ก ารด าเนิ น การตามพั น ธกิ จ
ตามกฎหมายจัดตั้งและมิได้ทากิจกรรมเชิงพาณิชย์เป็นหลัก (เช่น ความมั่นคงทางไฟฟ้า ความมั่นคงทางยา
และสุ ข ภาพ บริ ก ารสาธารณะ สาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ ผลประโยชน์ ส าธารณะ และพั น ธกิ จ
เชิงสังคม) และมีการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล การเข้าเป็นสมาชิก CPTPP จะทาให้ยังสามารถดาเนินการ
ตามพันธกิจเกี่ยวกับความมั่นคงทางไฟฟ้า ความมั่นคงทางยาและสุขภาพ บริการสาธารณะ สาธารณูปโภคและ
สาธารณู ป การ ผลประโยชน์ ส าธารณะ และพั น ธกิ จ เชิ ง สั งคม หรื อ ตามนโยบายรั ฐ ได้ ห รื อ ไม่ (๒) กรณี
รัฐวิสาหกิจได้รับการอุดหนุน หรือความช่วยเหลือที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์เพื่อไปดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล อาทิ
รัฐวิส าหกิจที่เป็ น สถาบั น การเงิน การเข้าเป็นสมาชิก CPTPP จะทาให้ รัฐวิสาหกิจอาจไม่ได้รับการอุดหนุน
๖๙

หรือความช่วยเหลือและอาจส่งผลกระทบต่อการดาเนินการตามนโยบายรัฐบาลในการช่วยเหลือประชาชน
(๓) เรื่องความโปร่งใส กรณีการเปิดเผยข้อมูลตามกฎ ระเบียบของสานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และตามแนวทางการกากับดูแลกิจการที่ดีของ
รัฐ วิส าหกิจ ของ สคร. ซึ่ งเที ย บเคีย งกับ มาตรฐานสากล สามารถถือ ได้ ว่าเป็ น การเปิ ดเผยข้ อ มูล ตามหลั ก
ความโปร่งใส ซึ่งในหลักการ รัฐวิสาหกิจขอให้ภาครัฐกาหนดข้อยกเว้นไว้เช่นเดียวกับที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ
การแข่งขันทางการค้า พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๔ ที่ยกเว้นไม่ให้ใช้บังคับแก่การกระทาของรัฐวิสาหกิจ เฉพาะในส่วน
ที่ดาเนินการตามกฎหมาย หรือมติของคณะรัฐมนตรีที่มีความจาเป็น เพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคง
ของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ ผลประโยชน์ส่วนรวม หรือจัดให้มีสาธารณูปโภค
ทั้งนี้ ข้อบทรัฐวิสาหกิจของความตกลง CPTPP จะไม่บังคับใช้กับรัฐวิสาหกิจที่มี
ผลประกอบการต่ากว่า ๒๐๐ ล้าน SDR หรือประมาณ ๘,๘๕๖.๘๘ ล้านบาท (๑ SDR เท่ากับ ๔๔.๒๘๔๔ บาท
อัต ราแลกเปลี่ ย น ณ วัน ที่ ๒๖ สิ งหาคม ๒๕๖๓) ซึ่ งเมื่ อ พิ จ ารณาข้ อ มู ล ผลประกอบการของรัฐ วิส าหกิ จ
ในปี ๒๕๖๒ มี รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ เข้ า ข่ า ยภายใต้ พั น ธกรณี ข องความตกลง CPTPP จ านวน ๒๖ แห่ ง ได้ แ ก่
๑) การยาสู บ แห่ งประเทศไทย ๒) การเคหะแห่ งชาติ ๓) การไฟฟ้ านครหลวง ๔) การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต แห่ ง
ประเทศไทย ๕) การไฟฟ้าส่วนภูมิภ าค ๖) การท่าเรือแห่ งประเทศไทย ๗) การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
๘) การประปานครหลวง ๙) การประปาส่วนภูมิภาค ๑๐) การยางแห่งประเทศไทย ๑๑) การรถไฟแห่งประเทศไทย
๑๒) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ๑๓) บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) ๑๔) บริษัท
ท่ าอากาศยานไทย จ ากั ด (มหาชน) ๑๕) บริษั ท ที โอที จ ากั ด (มหาชน) ๑๖) บริษั ท ปตท. จ ากั ด (มหาชน)
๑๗) บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด ๑๘) บริษัท อสมท จากัด (มหาชน) ๑๙) บริษัท ไปรษณีย์ไทย
จากัด ๒๐) สานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ๒๑) องค์การเภสัชกรรม ๒๒) องค์การคลังสินค้า และ ๒๓) องค์การ
ส่งเสริมกิจการโคนมแห่ งประเทศไทย และรัฐวิสาหกิจที่เป็นสถาบันการเงิน ๓ แห่ง ได้แก่ ๑) ธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ๒) ธนาคารออมสิน ๓) ธนาคารอาคารสงเคราะห์
อย่างไรก็ดี เมื่อแยกพิจารณาเห็นว่า มีรัฐวิสาหกิจที่มีกิจกรรมซึ่งไม่เป็นเชิงพาณิชย์
ที่ไม่เข้าข่ายตาม CPTPP ดังนี้
(๑) รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี ภ ารกิ จ ในการด าเนิ น การตามนโยบายรั ฐ เพื่ อ ประโยชน์
สาธารณะ ในการช่วยเหลือประชาชนและภาคธุรกิจ SME ซึ่งเป็นการเติมเต็มในส่วนที่ภาคเอกชนไม่ดาเนินการ
ได้ แ ก่ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ์ ก ารเกษตร ธนาคารออมสิ น และธนาคารอาคารสงเคราะห์
เข้าข่ายเป็นธนาคารการพัฒนา (Development Bank)
(๒) รั ฐ วิส าหกิ จ ที่ จัด ให้ มี ส าธารณู ป โภคขั้ น พื้ น ฐาน ได้ แ ก่ การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิ ต
แห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีภารกิจในการผลิต จัดให้ได้มา และจัดส่งให้ผู้จาหน่ายไฟฟ้าซึ่งเป็นบริการสาธารณะ
และสาธารณู ปโภคขั้น พื้นฐาน ในขณะที่ผู้ ผลิตไฟฟ้าเอกชนอย่าง IPP SPP สามารถผลิตไฟฟ้าได้ แต่ กฟผ.
มีห น้ าที่ ในการบริ ห ารจั ดการระบบส่ งไฟฟ้ าและสายส่ งไฟฟ้ า เพื่ อรักษาความมั่ นคงทางไฟฟ้ าแก่ป ระเทศ
ส่วนการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การประปานครหลวง และการประปาส่วนภูมิภาค มีภารกิจ
ในการจ าหน่ ายไฟฟ้ าและน้ า มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ให้ ป ระชาชนสามารถเข้ าถึ งบริ การสาธารณะได้ ในราคา
ที่เป็นธรรม
(๓) รัฐวิสาหกิจที่จัดให้มีโครงสร้างพื้นฐานที่จาเป็น เพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ ได้แก่
การเคหะแห่ งชาติ การรถไฟแห่ งประเทศไทย การรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชนแห่ งประเทศไทย การทางพิ เศษ
แห่งประเทศไทย การท่าเรือแห่งประเทศไทย
๗๐

(๔) รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี ภ ารกิ จ ตามกฎหมายจั ด ตั้ ง ในการสนั บ สนุ น เชิ ง สั ง คม


เพื่อประโยชน์สาธารณะและประโยชน์ส่วนรวม ได้แก่ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย การยาง
แห่งประเทศไทย การยาสูบแห่งประเทศไทย มีภารกิจในการช่วยเหลือภาคเกษตรกรในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
รวมถึงการรักษาเสถียรภาพของสินค้าเกษตรที่เกษตรกรจาหน่าย
(๕) รั ฐ วิ ส าหกิ จ ที่ มี ภ ารกิ จ ในการรั ก ษาความมั่ น คงทางยาและสุ ข ภาพของ
ประชาชน ได้แก่ องค์การเภสัชกรรม อาจจะได้รับผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญจากการเข้าเป็นสมาชิก CPTPP
โดยปั จ จุ บั น มี ก ฎกระทรวงก าหนดพั ส ดุ แ ละวิ ธีก ารจั ด ซื้ อ จั ด จ้ างพั ส ดุ ที่ รัฐ ต้ อ งการส่ งเสริม หรือ สนั บ สนุ น
พ.ศ. ๒๕๖๓ ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริห ารพัส ดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
ให้หน่วยงานรัฐจัดซื้อยา โดยวิธีเฉพาะเจาะจงจากองค์การเภสัชกรรม ในขณะเดียวกันก็มีภารกิจรองรับนโยบาย
การจั ดยากาพร้ า ยาขาดแคลน ยาจ าเป็ นเร่งด่วนกรณี เกิดโรคระบาด/ภาวะฉุ กเฉินตามพระราชบั ญ ญั ติยา
พ.ศ. ๒๕๑๐ ซึ่งการเข้าร่วม CPTPP ทาให้รัฐไม่อาจส่งเสริมและสนับสนุนให้จัดซื้อยาแต่เฉพาะกับองค์การ
เภสัชกรรมได้เช่นเดิม และราคากลางของยาสูงขึ้น ส่งผลต่อการเข้าถึงยาของประชาชน อีกทั้งอาจส่งผลกระทบ
ต่อรายได้ขององค์การเภสัชกรรม และการนารายได้ไปสนับสนุนการดาเนินการเพื่อสร้างความมั่นคงทางสุขภาพ
ของประชาชน
ดังนั้น ในเบื้องต้นเห็นว่า ในหลักการการดาเนินการเชิงพาณิชย์ของรัฐวิสาหกิจ
สามารถที่ จ ะปฏิ บั ติ ต าม CPTPP โดยกิ จ กรรมของรั ฐ วิ ส าหกิ จ ตาม (๑) - (๕) ไม่ ค วรรวมอยู่ ในกิ จ กรรม
เชิงพาณิ ช ย์ ตามข้อบท CPTPP ทั้ งนี้ ให้ รวมถึ งกิ จกรรรมที่ ด าเนิ น การตามกฎหมายหรือ มติ คณะรัฐ มนตรี
ที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ หรือผลประโยชน์ส่วนรวม เช่น
การดาเนินโครงการอินเทอร์เน็ตหมู่บ้านที่รัฐบาลมอบหมายให้ บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) ดาเนินการสร้าง
ความเท่าเทียมและทั่วถึงในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และโครงการ ASEAN Digital Hub ของบริษัท
กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) ตามนโยบายรัฐบาลในการเพิ่มประสิทธิภาพโครงข่ายอินเทอร์เน็ตระหว่าง
ประเทศสู่การเป็นเศรษฐกิจการแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลของภูมิภาคอาเซียน เป็นต้น
๙) ประเด็นด้านอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT)
ประเด็นอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้านั้น มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคประชาสังคม
ที่เกี่ยวข้องกังวลว่า แนวทางปฏิบัติ/กฎหมาย และกฎระเบียบในความรับผิดชอบของไทย อาจไม่สอดคล้องกับ
ข้อกาหนดภายใต้ภาคผนวกแนบท้ายตามรายสาขา (Sectoral Annex) ของข้อบท TBT ในความตกลง CPTPP
ดังนี้
(๑) Annex ๘ - A ไวน์และสุรากลั่น ข้อกาหนดการทาเครื่องหมายและฉลาก
ของไทย มีความเข้มงวดมากกว่าที่ความตกลง CPTPP กาหนด (กรมควบคุมโรค)
(๒) Annex ๘ - B สิ น ค้ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร การยอมรั บ
หลักการการรับรองตนเองของผู้ประกอบการ (Supplier’s Declaration of Conformity : SDoC) (สานักงาน
คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ : กสทช.)
(๓) Annex ๘ - C ผลิตภัณฑ์ยา ไม่ให้ประเทศสมาชิกกาหนดเงื่อนไขให้เภสัชภัณฑ์
ที่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานกากับดูแลให้วางจาหน่ายในประเทศที่ผลิต ต้องแสดงข้อมูล หลักฐานประกอบ
ในการอนุญาตให้วางจาหน่ายในตลาด (สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา : อย.)
(๔) Annex ๘ - D เครื่องสาอาง ห้ามไม่ให้ระบุเลขที่จดแจ้งบทฉลากเครื่องสาอาง (อย.)
(๕) Annex ๘ - E เครื่ อ งมื อ แพทย์ การจ าแนกประเภทของเครื่ อ งมื อ แพทย์
ความเสี่ยง และการกากับดูแลตามความเสี่ยง (อย.)
๗๑

(๖) Annex ๘ - F สูตรอาหารในภาชนะบรรจุและวัตถุเจือปนอาหาร การรักษา


ความลับของข้อมูลสินค้า และการกาหนดหลักเกณฑ์การแสดงฉลากอาหารและส่วนประกอบให้เป็นไปตาม
มาตรฐาน Codex (อย.)
(๗) Annex ๘ - G สินค้าอินทรีย์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลและการพิจารณายอมรับ
ความเท่ าเที ย มของกฎระเบี ย บทางเทคนิ ค มาตรฐาน และกระบวนการตรวจสอบและรับ รอง (ส านั กงาน
มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ : มกอช.)
ทั้ ง นี้ ข้ อ บท TBT มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ขจั ด อุ ป สรรคทางเทคนิ ค ต่ อ การค้ า
ที่ไม่จาเป็น ยกระดับความโปร่งใส และส่งเสริมความร่วมมือด้านการกากับดูแล อย่างไรก็ดี ภายใต้ความตกลง
CPTPP มีข้อกาหนดในส่วนที่เกินกว่าความตกลงอื่นที่ไทยเป็นภาคีในปัจจุบัน ได้แก่
๑) Article ๘.๖ การตรวจสอบและรับรอง (Conformity Assessment) ที่มากกว่า
ความตกลงว่ า ด้ ว ยอุ ป สรรคทางเทคนิ ค ต่ อ การค้ า (Technical Barriers to Trade : TBT) ภายใต้ อ งค์ ก าร
การค้าโลก (World Trade Organization : WTO) ในประเด็นการอนุญาตให้หน่วยงานตรวจสอบและรับรอง
สามารถให้การตรวจสอบและรับรองได้ โดยไม่จาเป็นต้องมีการจัดตั้งสานักงานตรวจสอบและรับรองในประเทศ
โดยประเทศสมาชิกต้องให้ การยอมรั บ ผลการตรวจสอบและรับ รอง จากหน่ว ยตรวจสอบและรับ รองที่ตั้ ง
ในประเทศสมาชิกอื่นไม่น้อยกว่าที่ตั้งอยู่ในประเทศของตน
๒) Article ๘.๗ ความโปร่ ง ใส (Transparency) ในการก าหนดกฎระเบี ย บ
ทางเทคนิ ค มาตรฐาน และกระบวนการตรวจสอบและรับ รอง ที่ มากกว่าความตกลง TBT ภายใต้ WTO
ในประเด็นการกาหนดกลไกความโปร่งใสที่สูงขึ้น เช่น กาหนดให้ประเทศสมาชิกต้องแจ้งร่างกฎระเบียบทาง
เทคนิคและกระบวนการตรวจสอบและรับรองที่กาหนดขึ้นใหม่ที่อาจมีผลกระทบต่อการค้า การอนุญ าตให้
บุคคลจากประเทศภาคีสามารถเข้ามีส่วนร่วมในการกาหนดกฎระเบียบทางเทคนิค มาตรฐาน และกระบวนการ
ตรวจสอบ ไม่ด้อยกว่าการอนุญาตให้บุคคลประเทศของตน
๓) การมีภาคผนวกแนบท้ายตามรายสาขา (Sect oral Annex) จานวน ๗ กลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ (๑) ไวน์และสุรากลั่น (๒) สินค้าเทคโนโลยีและสารสนเทศ (๓) ผลิตภัณฑ์ยา (๔) เครื่องสาอาง
(๕) เครื่องมือแพทย์ (๖) สูตรอาหารในภาชนะบรรจุและวัตถุเจือปนอาหาร และ (๗) สินค้าอินทรีย์ ซึ่งไทย
ยังไม่เคยจัดทา Sect oral Annex ภายใต้ความตกลง FTA อื่นที่ไทยเป็นภาคี
สาหรับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับไวน์และสุรากลั่น ปัจจุบันกรมสรรพสามิต ได้กาหนด
มาตรฐานที่ใช้สาหรับผลิตภัณฑ์สุรานาเข้า และสุราที่ผลิตในประเทศอย่างสอดคล้องและเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ดี
ตามที่กรมควบคุมโรค มีข้อกังวลว่า ข้อกาหนดการทาเครื่องหมายและฉลากของไทย มีความเข้มงวดมากกว่า
ที่ความตกลง CPTPP กาหนด โดยเฉพาะในประเด็นการห้ามไม่ให้มีข้อความเชิญชวนให้บริโภค หรืออวดอ้าง
สรรพคุณบนฉลากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อาทิ finest หรือ premium เป็นต้น คณะกรรมาธิการรับทราบว่า
ไทยมีสิทธิเจรจาขอยกเว้นการปฏิบัติตามข้อ ๑๗ ของ Annex ๘ - A ที่ระบุไม่ให้ประเทศสมาชิกห้ามนาเข้า
สินค้าไวน์ เพียงเพราะเหตุผลที่ฉลากของสินค้าไวน์ปรากฏคาอธิบายคุณลักษณะเฉพาะหรือวิธีการผลิตไวน์ได้ ๘
แต่ ไทยจะได้รั บ การยกเว้น หรื อไม่ นั้ น ขึ้ น อยู่กั บ การพิ จ ารณาของประเทศสมาชิ ก CPTPP ทั้ งนี้ ที่ ผ่ านมา
ประกาศสานักงานคณะกรรมการควบคุ มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข เกี่ยวกับ


แคนาดาและมาเลเซี ย ได้ รั บ การยกเว้ น ที่ จ ะต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามข้ อ ๑๗. ที่ ขั ด กั บ ข้ อ ผู ก พั น ของแคนาดาตาม Article A(๓)
of Annex V ภายใต้ความตกลง EU-Canada Wine Agreement และข้อกาหนดของมาเลเซียตาม Regulation ๑๘(๑A) ของ
กฎระเบียบ the Food Regulations ๑๙๘๕under the Food Act ๑๙๘๓
๗๒

ฉลากของเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ถูกประเทศสมาชิก WTO ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐฯ ญี่ปุ่น


เม็ ก ซิ โ ก แคนาดา ออสเตรเลี ย นิ ว ซี แ ลนด์ อาร์ เจนติ น า ชิ ลี แอฟริ ก าใต้ และกั ว เตมาลา ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่
เป็นประเทศสมาชิก CPTPP หยิบยกเป็นข้อกังวลทางการค้า (Specific Trade Concerns : STCs) ในการประชุม
คณะกรรมการว่ าด้ วยอุ ป สรรคทางเทคนิ คต่ อการค้ า (Committee on Technical Barriers to Trade : TBT
Committee) ภายใต้ WTO มาอย่างต่อเนื่อง จานวน ๑๔ ครั้ง ในช่วงระหว่างปี ๒๕๕๗ - ๒๕๖๒ โดยข้อกังวล
ส่วนใหญ่ที่ประเทศสมาชิก WTO ได้ยกขึ้นเกี่ยวกับประกาศดังกล่าวของไทย คือ ประกาศฯ ของไทยมีข้อจากัด
ทางการค้ามากเกินความจาเป็น มีความคลุมเครือและไม่ชัดเจนของหลักเกณฑ์ ทาให้ยากต่อการปฏิบัติตาม
และสอบถามถึงเหตุผลความจาเป็นในการกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับฉลาก
ส าหรั บ ประเด็ น ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ สิ น ค้ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร
(Information and Communications Technology (ICT) Products) ข้อกาหนดตาม Annex ๘ - B ระบุ ว่า
หากประเทศสมาชิกกาหนดให้ต้องมีการรั บรองว่าสินค้าอุปกรณ์โทรคมนาคมที่ใช้ในการสื่อสาร (Information
Technology Equipment : ITE) ได้รับมาตรฐาน หรือข้อกาหนดทางเทคนิคสาหรับสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง
ด้านความเข้ากั น ได้ทางแม่เหล็ กไฟฟ้ า (Electromagnetic Compatibility : EMC) ประเทศสมาชิก จะต้อ ง
ยอมรับการใช้หลักการรับรองตนเองของผู้ประกอบการ (Supplier’s Declaration of Conformity : SDoC)
ในการตรวจสอบสินค้าดังกล่าว อย่างไรก็ดี ประเทศสมาชิกมีสิทธิ์ในการกาหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมนอกเหนือจาก
การยอมรับหลักการ SDoC นอกจากนี้ ข้อกาหนดในการใช้หลักการ SDoC ไม่ครอบคลุมถึง (๑) สินค้าที่รัฐ
กาหนดว่าเป็นอุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบอุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือส่วนประกอบของอุปกรณ์ทางการแพทย์
และระบบอุปกรณ์ทางการแพทย์ และ (๒) สินค้าที่มีความเสี่ยงสูงซึ่งประเทศภาคีสามารถพิสูจน์ได้ว่าสินค้า
ดังกล่าวจะรบกวนการทางานของแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ เครื่องหรือระบบรับสัญญาณ ทั้งนี้ สานักงาน กสทช.
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสินค้า ICT ITE จะต้องเป็นหน่วยงานที่พิจารณารายการสินค้ าที่มี
ความเสี่ยงสูงที่เข้าข่ายการยกเว้นไม่ใช้หลักการ SDoC
สาหรับ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสิ นค้าอิน ทรีย์ (Organic Products) ความตกลง
CPTPP Annex ๘ - G กาหนดให้สนับสนุนการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการผลิต การรับรอง และระบบการกากับ
ดู แ ลสิ น ค้ าอิ น ทรี ย์ ที่ เกี่ ย วข้อ ง รวมถึ งมี ค วามร่ว มมื อ กั บ ประเทศสมาชิ ก อื่ น ๆ ในการก าหนดและพั ฒ นา
มาตรฐาน แนวทาง และข้อแนะนาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการค้าสินค้าอินทรีย์ รวมถึงการพิจารณา
ยอมรับ ความเทียบเท่าของกฎระเบี ยบทางเทคนิค มาตรฐาน และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ทั้งนี้
ปัจจุบั นสิ นค้าอิน ทรีย์ ที่วางจ าหน่ายในประเทศไทยมีปัญหาในหลายประการ อาทิ กลไกการควบคุมราคา
และการตรวจสอบคุณภาพสินค้าอินทรีย์ ที่วางจาหน่ายในตลาดไม่ชัดเจน ผู้บริโภคไม่มีช่องทางการร้องเรียน
และเครื่องหมายรับรองสินค้าอินทรีย์ของไทยยังไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยสานักงานมาตรฐานสิ นค้า
เกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการรับรองระบบงานของหน่วยรับรองสินค้า
อินทรีย์ (Organic) และการใช้เครื่องหมาย Organic Thailand
๑๐) ประเด็ นมาตรการสุ ขอนามั ยและสุ ขอนามั ยพื ช (Sanitary and Phytosanitary :
SPS)
มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชภายใต้ความตกลง CPTPP ใช้หลักการ
ของความตกลงว่ าด้ ว ยมาตรการสุ ข อนามั ย และสุ ข อนามั ย พื ช ภายใต้ อ งค์ ก ารการค้ า โลก (World Trade
Organization : WTO) เป็นพื้นฐาน อาทิ นิยาม วัตถุประสงค์ ขอบเขต รายละเอียดทางเทคนิคต่าง ๆ อาทิ
ความเท่ าเที ย ม การปรั บ ให้ เข้ ากับ สภาพของภูมิ ภ าครวมทั้ งเขตปลอดแมลง ศัต รูพื ช หรือโรคและเขตที่ มี
การระบาดของแมลงศัตรูพืชหรือโรคต่า การตรวจสอบ การรับรอง
๗๓

สาหรับข้อบทที่มีรายละเอียดเกินกว่าความตกลงอื่นที่ไทยเป็นภาคีในปัจจุบัน
อาทิ การแจ้งเวียนหรือเปิดรับฟังความเห็นต่อร่างมาตรการ SPS หรือมาตรการ SPS ฉบับสมบูรณ์เป็นเวลา
อย่างน้อย ๖๐ วันหรือมากกว่า การกาหนดให้ ต้องเผยแพร่ความเห็นที่ได้รับต่อสาธารณะ การใช้มาตรการ
ฉุกเฉินที่จะต้องแจ้งให้ประเทศสมาชิกทราบทันทีและต้องทบทวนมาตรการภายใน ๖ เดือนว่าจะบังคับใช้ต่อไป
หรือไม่ และการกาหนดให้ประเทศสมาชิกสามารถใช้กลไกระงับข้อพิพาทภายใต้ความตกลง CPTPP เพิ่มเติม
จากกลไกภายใต้ WTO หากปฏิบัติไม่สอดคล้องกับข้อบท SPS ภายใต้ความตกลง CPTPP ด้วย
ทั้งนี้ ไทยยังมีประเด็นคงค้างในมาตรการ SPS กับสมาชิก FTA ต่าง ๆ รวมถึง
CPTPP ดังนี้
ไทย ขอให้ชิลีเปิดตลาด มังคุด ลาไย ไก่
ขอให้ออสเตรเลียเปิดตลาดเป็ดปรุงสุก
ขอให้ญี่ปุ่นเปิดตลาดส้มโอขาวน้าผึ้ง
ขอให้เม็กซิโกเปิดตลาดจิ้งหรีด
ชิลี ขอให้ไทยเปิดตลาดสาลี่ สุกร โค แกะ หนังสัตว์หมักเกลือ
นม เลือดโค
ออสเตรเลีย ขอให้ไทยเปิดตลาดอะโวคาโด
ญี่ปุ่น ขอให้ไทยเปิดตลาดส้ม ข้าวกล้อง
แคนาดา ขอให้ไทยเปิดตลาดสุกร
กรมวิช าการเกษตร เห็ น ว่า Article ๗.๑๐ เรื่องการตรวจประเมิ น (Audits)
ที่กาหนดให้ประเทศผู้นาเข้าที่เดินทางไปตรวจประเมิน เป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่าย ไม่สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติ
ภายใต้ป ระกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง หลั กเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การวิเคราะห์ ความเสี่ ยงศัตรูพืช
ซึ่งการนาเข้าสิ่งต้องห้าม ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ข้อ ๕ ซึ่งกาหนดให้ประเทศผู้ส่งออกเป็นผู้รับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายของเจ้าหน้าที่กักกันพืชที่เดินทางไปปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตาม คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่า Article
๗.๑๐ (๗) The costs incurred by the audited Party shall be borne by the auditing Party, unless
both Parties decide otherwise. ยังคงเปิดโอกาสให้ภาคีตกลงกันในเรื่องผู้ออกค่าใช้จ่าย
กรมประมง แจ้งว่า มีการค้าประมงกับประเทศสมาชิก CPTPP ที่ไม่มี FTA ด้วย
(แคนาดา เม็กซิโก) ค่อนข้างน้ อย นอกจากนี้ มีความกังวลเรื่องฐานข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ การประเมิน
ความเสี่ ย ง/ความปลอดภั ย ทางอาหารว่ า ไทยอาจไม่ มี ข้ อ มู ล ทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เพี ย งพอ อย่ า งไรก็ ต าม
คณะกรรมาธิการเห็นว่า ไทยสามารถหาหรือใช้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์จากแหล่งอื่น ๆ ที่ไทยสามารถเข้าถึงได้
กรมปศุสัตว์ ไม่มีข้อขัดข้องต่อข้อบทของ CPTPP เนื่องจากปัจจุบันได้ดาเนินการ
สอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ อาทิ Office International des Epizooties (OIE) และ World Trade
Organization (WTO) ส่วนประเด็นค่าใช้จ่ายสาหรับการ Audit ของกรมปศุสัตว์แตกต่างจากกรมวิชาการเกษตร
เพราะกรมปศุสัตว์มิได้กาหนดไว้ว่าใครจะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย แต่ขึ้นกับการตกลงกันระหว่างคู่ภาคี จะมีบาง
ประเทศผู้ส่ งออก (อาทิ สหภาพยุโรป) ไม่ออกค่าใช้ จ่ายให้ ผู้ ไปตรวจ เพราะอาจจะก่อให้ เกิดความล าเอียง
ไม่โปร่งใส ไม่ยุติธรรมขึ้นได้
มูล นิ ธิเพื่ อผู้ บริโภค มี ข้อกั งวลว่า การเปิ ด ให้ น าเข้าสิ นค้ าเนื้ อสุ กรอาจส่ งผล
กระทบต่อราคาเนื้อสุกรภายในประเทศ เนื่องจากราคาเนื้อสุกรของแคนาดาต่ากว่าราคาเนื้อสุกรของไทยมาก
เป็นเพราะสินค้าเนื้อสุกรที่จะส่งมาเป็นส่วนที่เหลือจากการบริโภคในประเทศ เช่น เครื่องใน เป็นต้น
๗๔

๑๑) ประเด็นสินค้าขยะอันตราย
ภาคประชาสังคมมีข้อกังวลว่าการเจรจาความตกลงการค้าเสรี (Free Trade
Agreement: FTA) ซึ่งรวมถึงความตกลงที่ครอบคลุมและก้าวหน้าสาหรับหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจภาคพื้นแปซิฟิก
(CPTPP) จะทาให้เกิดช่องโหว่ให้ประเทศคู่เจรจาสามารถส่งขยะอันตรายเข้ามายังประเทศไทย
อย่างไรก็ดี การเจรจา FTA ซึ่งรวมถึงความตกลง CPTPP ไม่ได้เป็นสาเหตุที่ทาให้
เกิดช่องโหว่ให้ประเทศคู่เจรจาสามารถส่งขยะอันตรายเข้ามายังประเทศไทย เนื่องจากเป็นสินค้าที่ห้ามนาเข้า
แต่ผู้ประกอบการบางรายอาจลักลอบ นาสินค้าที่เข้าข่ายเป็นขยะอันตรายมาปะปนกับสินค้าพิกัดอื่น ๆ ทาให้
การป้องกันการนาเข้าสินค้าขยะโดยการไม่นามาเปิดตลาดภายใต้ FTA เป็นไปได้ยาก เพราะจะกระทบต่อท่าที
การเปิดตลาดของไทย และรวมถึงสินค้าอื่นที่ไทยอาจจาเป็นต้องนาเข้าเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบ ดังนั้น การคงภาษี
หรื อ ปรั บ ลดภาษี ภ ายใต้ FTA ไม่ ใช่ ก ารแก้ ปั ญ หาที่ ต้ น ทาง เนื่ อ งจากไม่ ได้ ปิ ด กั้ น การเข้ า มาของเศษขยะ
และสินค้ารีไซเคิล โดยสินค้าหลายรายการทั้งที่เป็น ของเสียตามอนุสัญญาบาเซลและนอกบัญชีรายการของเสีย
ตามอนุสัญญาบาเซลมีอัตรา MFN เป็นร้อยละศูนย์ แล้ว หรือยกเว้นภาษีในทุกกรอบ FTA ของไทยอยู่แล้ว
การจัดการกับปัญหาขยะอันตรายจึงต้องพึ่งพากลไกการบังคับใช้กฎหมายให้มี
ประสิทธิภาพ แม้ว่าปัจจุบันไทยจะมีมาตรการควบคุมการนาเข้าขยะอันตรายผ่านกระบวนการอนุญาตนาเข้า
โดยมีหน่วยงานผู้รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมศุลกากร กรมควบคุมมลพิษ
กรมการค้าต่างประเทศ มีการออกกฎหมายและกฎระเบียบภายในเพื่อควบคุมการนาเข้าของเสียอันตรายต่าง ๆ
อาทิ พระราชบั ญ ญั ติวัต ถุ อัน ตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกาศกระทรวงอุต สาหกรรม เรื่อ ง ก าหนดชนิ ดและ
แหล่ งกาเนิ ดวัตถุดิบ ที่ จะน ามาใช้ในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยได้กาหนดห้ ามโรงงานใช้ขยะอิเล็ กทรอนิกส์
ที่นาเข้าจากต่างประเทศมาเป็นวัตถุดิบในโรงงาน ประกาศกระทรวงพาณิชย์ ว่าด้วยการนาเข้าสินค้าเข้ามา
ในราชอาณาจั ก ร (ฉบั บ ที่ ๑๑๒) พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกาศกระทรวงพาณิ ช ย์ เรื่ อ ง ก าหนดให้ ข ยะเทศบาล
เป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ งห้ ามน าเข้ า และห้ า มน าผ่ า นราชอาณาจั ก ร พ.ศ. ๒๕๖๒ นอกจากนี้ กระทรวงพาณิ ช ย์
โดยกรมการค้ า ต่ างประเทศอยู่ ร ะหว่ างการด าเนิ น การเพื่ อ บั งคั บ ใช้ ร่างประกาศกระทรวงพาณิ ช ย์ เรื่อ ง
ก าหนดให้ ข ยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เป็ น สิ น ค้ า ที่ ต้ อ งห้ า มในการน าเข้ า มาในราชอาณาจั ก ร พ .ศ. ๒๕๖๓
ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบร่างดังกล่าวแล้วเมื่อวัน ที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๓ ซึ่งการบังคับใช้ประกาศ
ดังกล่าวถือเป็นการพัฒ นาปรับปรุงกฎหมายและบังคับใช้มาตรการควบคุมการนาเข้าขยะ/ของเสียอันตราย
ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเป็นการสกัดกั้นไม่ให้มีการนาของเสียอันตรายเข้ามาเป็นขยะในประเทศไทย
ทั้ งนี้ ตั้ งแต่ ปี ๒๕๖๑ จี น ได้ ห้ ามน าเข้ าขยะเข้ ามาในประเทศ เพื่ อ คุ้ ม ครอง
สุ ข ภาพ ความปลอดภั ย ของมนุ ษ ย์ สั ต ว์ พื ช และสิ่ ง แวดล้ อ มโดยรวม ซึ่ ง การควบคุ ม กิ จ การรี ไซเคิ ล
ภายในประเทศของจีน ส่งผลให้โรงงานรีไซเคิลขยะในประเทศจีนได้ย้ายโรงงานไปยังประเทศอื่น และขยะที่เคย
ส่ งไปยั งประเทศจี น ก็จ ะถู ก ส่ งไปยั งประเทศอื่ น ๆ โดยเฉพาะในประเทศที่ ไม่ มี ก ฎหมายควบคุ มเข้ ม งวด
ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย ส่งผลให้มีการยื่นขอจัดตั้งโรงงานรีไซเคิลขยะในไทยเพิ่มขึ้นนับตั้งแต่จีนห้ามนาเข้า
ขยะดังกล่าว๙


ข้อมูลจากมูลนิธิบูรณะนิเวศ
๗๕

๕. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
คณะกรรมาธิการมีข้อสังเกตที่คณะรัฐมนตรี และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรทราบหรือควรปฏิบัติ
ทั้งนี้ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๑๐๕ ดังนี้
๕.๑ ข้อสังเกตด้านการเกษตรและพันธุ์พืช
๑) รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานในการส่งเสริมด้านการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืช โดยกลุ่ม
เกษตรกรมี ส่ วนร่ วมตลอดกระบวนการปรับปรุงพั นธุ์พื ช โดยผู้ วิจัยและพั ฒ นาพั นธุ์ต้องผลิ ตเมล็ ดพั นธุ์ขยาย
ในจานวนที่พอเพียงต่อความต้องการของกรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร และศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชชุมชน
ในการนาไปผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย เผยแพร่แก่เกษตรกร เพื่อให้ เกิดความสมดุลกับพันธุ์ลูกผสมของภาคธุรกิจ
เอกชนตามหลั กของความได้สัดส่วน ที่ต้องให้ การคุ้มครองสิ ทธินักปรับปรุงพันธุ์พืชกระทบสิ ทธิของเกษตรกร
ในระดับพอประมาณ โดยการสนับสนุนงบประมาณและบุคลากรให้เพียงพอและต่อเนื่อง
๒) รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณ และอัตราบุคลากรด้านการปรับปรุงพันธุ์และด้านการผลิต
เมล็ดพันธุ์แก่กรมการข้าว เพื่อสามารถนาเชื้อพันธุกรรมข้าวที่เก็บรวบรวมไว้มาใช้ประโยชน์เต็มตามศักยภาพ
ของพันธุ์ และเพื่อให้กรมการข้าวสามารถกากับดูแลการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของข้าว เพิ่มจากประมาณ
ร้ อ ยละ ๓๐ ของเมล็ ด พั น ธุ์ จ าหน่ ายที่ ช าวนาต้ อ งซื้ อ มาใช้ เป็ น ประมาณร้อ ยละ ๖๐ เพื่ อ สร้ างดุ ล ยภาพ
ด้านความมั่นคงทางเมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย (รายละเอียดปรากฏในภาคผนวก ฌ)
๓) รัฐต้องเร่งรัดแก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญ ญัติ คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ (ตัวอย่าง
ร่ างกฎหมายในภาคผนวก ซ) และอนุ บั ญ ญั ติ เพื่ อแก้ ปั ญ หาการใช้ กฎหมาย เตรียมการให้ ก ลุ่ มเกษตรกร
มีการปรับตัวและสร้างเสริมความเข้มแข็งด้านการปรับปรุงพันธุ์และพัฒ นาพันธุ์พืช เอื้อประโยชน์ต่อการทา
เกษตรยั่ งยื น และขับ เคลื่ อนให้ ป ระเทศไทยเป็ นศูนย์กลางเมล็ดพั นธุ์พืช เขตร้อนชื้น ก่อนการแก้ไขเพิ่ มเติม
พระราชบั ญ ญั ติ คุ้ ม ครองพั น ธุ์ พื ช ให้ มี ผ ลใกล้ เคี ย งกั บ หลั ก การของอนุ สั ญ ญา UPOV 1991 อนุ สั ญ ญาอื่ น
ที่ประเทศไทยเป็นภาคีสมาชิก และให้เหมาะสมกับบริบทวิถีชีวิตและสังคมเกษตรกรรมไทย ทั้งยังต้องเร่งรัด
ออกกฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
เพื่อการนี้
๔) รัฐต้องมีนโยบายและแผนงานแบบบูรณาการด้านพันธุ์พืชกับการพัฒนาการเกษตรแบบ
พึ่งตนเองได้ โดยส่ งเสริมให้ มีเครื อข่ายการดาเนิ นงานแบบบูรณาการของหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเกษตรกร
ในด้ านพั นธุ์พื ชและศู นย์ ผลิ ตพั นธุ์พื ชชุมชน เพื่ อให้ สามารถให้ บริการด้ านเมล็ ดพั นธุ์และส่ วนขยายพั นธุ์พื ช
ที่เหมาะสมแก่เกษตรกรได้อย่างมีมาตรฐานและเพียงพอกับความต้องการ โดยการสนั บสนุนงบประมาณและ
บุคลากรให้เพียงพอและต่อเนื่อง
๕) รั ฐ ต้ อ งเร่ งรั ด ให้ ห น่ ว ยงานที่ เกี่ ยวข้ อ งด าเนิ น การพิ จารณาปรับ โครงสร้างการผลิ ต
ภาคเกษตรเป็นการด่วน ให้ครอบคลุมตั้งแต่ระดับฟาร์มถึงการแปรรูปขั้นต้น เพื่อเพิ่มรายได้สุทธิแก่เกษตรกร
ให้สัมพันธ์กับค่าแรงขั้นต่า และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านสินค้าเกษตรของประเทศ
๖) รัฐต้องทาความเข้าใจกับเกษตรกรที่ปลูกพืชทุกกลุ่ม เช่น ข้าว พืชไร่ ผัก ไม้ผล ไม้ดอก
พืช เครื่องดื่ม และสมุน ไพร-เครื่องเทศ และผู้ ที่เกี่ยวข้องในทุ กจังหวัดทั่วประเทศ ในเรื่องเกี่ยวกับ CPTPP
และข้อบทที่เกี่ยวกับ UPOV ให้ชัดเจนถึงผลได้-ผลเสียที่อาจจะเกิดขึ้น
๕.๒ ข้อสังเกตด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เนื่องด้วยระยะเวลาในการศึกษาที่จากัด คณะกรรมาธิการจึงมีข้อสงวนและข้อสังเกต ดังนี้
๑) ยังมีประเด็นที่ควรศึกษาและ/หรือวิจัยต่อยอดเพิ่มเติมในลักษณะที่บูรณาการระหว่าง
ประเด็น ได้แก่
๗๖

(๑) ขนาดของผลกระทบทั้งทางด้านการขึ้นทะเบียนตารับยา การเข้าถึงยาของประชาชน


และอุตสาหกรรมยาชื่อสามัญของไทย ตลอดจนกระบวนการในการเยียวยาต่อผู้ได้รับผลกระทบในกรณีของ
การเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา
(๒) ผลกระทบระยะยาวทั้ งในด้ านขีด ความสามารถในการแข่ งขั น ทั้ งด้ านการวิ จั ย
และพัฒนาของนักวิจัย และการแข่งขันทางการตลาดของอุตสาหกรรมยาไทย ความมั่นคงทางยาและการพึ่งพิง
การน าเข้าจากต่างประเทศ ตลอดจนราคายาและความสามารถในการเข้าถึงยาของประชาชนไทย ในกรณี
การเปิดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
(๓) ความคุ้มค่ากับความเปลี่ ยนแปลงของเทคโนโลยีและความล้ าสมัยของเครื่องมือ
แพทย์ และความสามารถในการกาจัดขยะของประเทศไทย
(๔) วิ ธี ก ารใหม่ ที่ จ ะใช้ แ ทนการแสดงเลขที่ รั บ แจ้ งนี้ ซึ่ ง จะต้ อ งใช้ เพื่ อ การคุ้ ม ครอง
ผู้บริโภคโดยไม่เป็นภาระต่อผู้บริโภคในการตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ รวมถึงต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่จะใช้
วิธีการใหม่นั้น แทนเลขที่รับแจ้งที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
๒) มีความจ าเป็ นที่ หน่วยงานภาครัฐทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะต้องมาร่วมประชุมและปรึกษา
หารือถึงผลกระทบเชิงโครงสร้าง ซึ่งประเทศไทยควรจะต้องเตรียมความพร้อมก่อนที่จะเข้าร่วมในความตกลงนี้
โดยจะต้องเสนอแนวทางปฏิบัติภายในแต่ละหน่วยงาน การแบ่งความรับผิดชอบระหว่างหน่วยงานที่มีหน้าที่
และอานาจซ้อนทับกัน การเพิ่มภาระงานให้ บางหน่วยงานอาจมีความจาเป็นที่จะต้องจัดสรรบุคลากรใหม่
หรือมีการบูรณาการในการทางานระหว่างหน่วยงานเพิ่มขึ้น รวมถึงรัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ
ให้กับหน่วยงาน ในประเด็นต่อไปนี้
(๑) สร้างกระบวนการเชื่อมโยงสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนตารับยา (Patent Linkage)
และจะต้องเกิดการทางานร่วมกันโดย อย. และกรมทรัพย์สินทางปัญญา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
(๒) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดาเนินการรวบรวมและจัดทาฐานข้อมูลพันธุ์พืชสมุนไพร
ของประเทศไทยให้ครบถ้วนและเป็นปัจจุบันโดยเร็วที่สุด และจัดตั้งหน่วยเฝ้าระวังการลักลอบนาพันธุ์พืชไทย
ไปจดทะเบียนสิทธิ ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยและความมั่นคงทางสมุนไพรของไทย ไม่ว่าจะเข้าร่วมอนุสัญญา
UPOV 1991 หรือไม่ก็ตาม
(๓) ท าความชั ด เจนในการก าหนดนิ ย ามและพิ กั ด ศุ ล กากรเครื่ อ งมื อ แพทย์ ที่ เป็ น
Remanufactured Goods และการตีความกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะเรื่องการจัดซื้อโดยสถานพยาบาล
ภาครัฐ
(๔) รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของ
บุคลากรและห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบเพื่อการจาแนกเครื่องมือแพทย์ Remanufactured Goods และ
เครื่ อ งมื อ แพทย์ ที่ ใช้ แ ล้ ว หรื อ เครื่ อ งมื อ แพทย์ มื อ สอง เพื่ อ รั บ ประกั น ด้ า นมาตรฐานของเครื่อ งมื อ แพทย์
และความปลอดภัยของประชาชน
๓) รัฐบาลควรเสนอร่างข้อบังคับหรือกฎหมายที่จะต้องตราขึ้นใหม่ เพื่อทาให้ เกิดสภาพ
บังคับภายในราชอาณาจักรก่อนที่จะเข้าร่วมความตกลงดังกล่าว เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหลาย ทั้งหน่วยงาน
ภาครัฐ เอกชน และประชาชนโดยทั่วไปได้รับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นเพื่อที่จะได้แสดงความคิดเห็น
และเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติตามได้อย่างถูกต้อง ดังนี้
(๑) กฎหมายภายในประเทศ เพื่ อ ก าหนดให้ ผู้ ที่ ต้ อ งการขอขึ้ น ทะเบี ย นยาที่ มี
ส่วนประกอบของจุลชีพ หรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับจุลชีพต้องสาแดงแหล่งที่มาร่วมด้วย
ให้เร็วที่สุด เพื่อคุ้มครองจุลชีพจากแหล่งต้นกาเนิดภายในประเทศ
๗๗

(๒) การกาหนดมาตรฐานในเรื่องอาหารของความตกลง CPTPP โดยอ้างอิงหลักการของ


CODEX guideline โดยภาครัฐควรแถลงให้ชัดเจนในประเด็นนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจแก่ภาคประชาชน
๔) รัฐบาลควรที่จ ะจัดเตรียมมาตรการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบทางลบจากการเข้าร่ว ม
ความตกลงนี้ไว้ล่วงหน้าด้วย
๕) ในกรณีที่รัฐบาลได้เตรียมพร้อมตามข้อ ๑) ถึงข้อ ๔) เรียบร้อยแล้ว และต้องการเจรจา
เพื่อเข้าร่วมความตกลง CPTPP ในการเจรจาต้องกาหนดประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวเนื่ องกับการแพทย์และการ
สาธารณสุข ดังนี้
(๑) ท าข้อ สงวนของประเทศไทยประเด็น จัด ซื ้อ จัด จ้า งภาครัฐ โดยยึด ต้น แบบ
จากสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ซึ่งสามารถขอยกเว้นตลาดได้ ร้อยละ ๕๐ ในระยะเวลา ๒๐ ปี
(๒) ขอตั้งข้อสงวนสาหรับมาตรการควบคุมยาสูบของประเทศไทย
(๓) ขอตั้งข้อสงวนมาตรการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศไทย
(๔) ขอจั ด ท า side letter เพื่ อ ยกเว้ น สิ ท ธิ ก ากั บ ดู แ ลของรั ฐ (rights to regulate)
สาหรับมาตรการด้านการสาธารณสุข ออกจากการฟ้องร้องรัฐด้วยกลไก ISDS
(๕) ขอตั้งข้อสงวนตามข้อกังวลในประเด็นต่าง ๆ เกี่ยวกับการให้ บริการทางวิช าชีพ
จากทุกสภาวิชาชีพตามที่กาหนดไว้ในข้อบทของบทที่ ๙ และบทที่ ๑๐ ทั้งนี้ หากข้อกังวลใดมีกฎหมายบัญญัติ
ไว้เป็ น การเฉพาะอยู่ แล้ ว ณ ปั จ จุ บั น สามารถระบุ ไว้เป็ น ข้ อ สงวนใน Annex I หากแต่ ข้ อ กังวลใดยั งไม่ มี
กฎหมายบั ญ ญั ติ ไว้ ชั ด เจน อาจระบุ ไว้ เป็ น ข้ อ สงวนใน Annex II หรื อ อาจออกกฎหมายภายในประเทศ
เพื่อรองรับและคลายข้อกังวลเหล่านั้นเสียก่อน แล้วนาไประบุเป็นข้อสงวนไว้ใน Annex I แทน
(๖) กระทรวงพาณิชย์นาข้อเสนอการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub)
ของสมาคมโรงพยาบาลเอกชน เพื่อพิจารณาแนวทางเพิ่มเติม
๕.๓ ข้อสังเกตด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน
๑) ประเด็นภาพรวมการประเมินผลกระทบ และ Post COVID
(๑) ผลการศึกษาโดยแบบจาลอง ยังมิได้คานึงถึงบริบททางสังคมและบทบาทของตัวแสดง
ที่มิใช่รัฐ (non-state actor) นอกจากนี้ ผลการศึกษาดังกล่าวเป็นการศึกษาเชิงมหภาค ซึ่งไม่สามารถนามา
วิเคราะห์ผลกระทบต่อประเด็นรายละเอียดเชิงลึกได้ โดยเฉพาะการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสินค้าอุตสาหกรรม
ที่มีการแข่งขันการนาเข้าสูง (import competing industry) อาทิ วัตถุดิบและกึ่งสาเร็จรูป รวมถึงประเด็นใหม่ ๆ
ที่อยู่ในความตกลง CPTPP อาทิ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ
(๒) การตั้งสมมติฐานการเปิดเสรีการค้าทันที ๑๐๐% ของผลการศึกษายังไม่สอดคล้อง
กับความเป็นจริง รวมถึงยังมิได้คานึงถึงระยะทางและต้นทุนค่าขนส่งในกรณีประเทศสมาชิกอยู่ห่างไกล
(๓) ผลการศึกษาโดยแบบจาลอง ควรจะมีการอธิบายเพิ่มเติมว่า กรณี GDP ของประเทศไทย
ติดลบนั้น เกิดจากการเบี่ยงเบนทางการค้า (trade diversion) เพื่อสร้างความชัดเจน เพราะเมื่อมีการลดภาษี
ระหว่างกันแล้ว จะทาให้การเบี่ยงเบนการค้าไปสู่อีกประเทศหนึ่ง ทาให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบในแง่เชิง
รายได้ นอกจากนี้ ผลการศึกษาดังกล่าวมีการดาเนินการแล้วเสร็จในปี ๒๕๖๒ จึงอาจไม่ครอบคลุมสถานการณ์
COVID - 19 และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
(๔) การวิเคราะห์ผลกระทบต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) โดยแบบจาลอง
มิได้คานึงถึงปัจจัยอื่น อาทิ ศักยภาพในการบังคับใช้กฎหมาย กฎระเบียบภายในประเทศที่สนับสนุนให้เกิด
การลงทุนในประเทศมากขึ้น คุณภาพบุคลากร เสถียรภาพทางการเมือง และต้นทุน เป็นต้น ดังนั้น การเข้าร่วม
CPTPP อาจไม่ใช่ปัจจัยหลักที่จะช่วยให้ไทยได้รับเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
๗๘

(๕) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องนอกเหนือไปจากกระทรวงพาณิชย์ ควรร่วมศึกษาวิจัย


และประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นสาหรับการเจรจาจัดทาความตกลงการค้าเสรีในอนาคตเพิ่มเติมด้วย เพื่อให้
มีการวิเคราะห์ที่ครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ อาทิ การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ ประเด็นด้านสาธารณสุข เป็นต้น
โดยควรนาการวิเคราะห์ในด้านต่าง ๆ มาหารือร่วมกัน เพื่อที่จะสามารถจัดทาข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลถึงประโยชน์
และผลกระทบในประเด็นต่าง ๆ ที่รอบด้าน
๒) ประเด็นการค้าสินค้า กฎถิ่นกาเนิดสินค้า และประเด็น Free Zone
(๑) รั ฐ บาลต้ อ งปรับ โครงสร้ างอัต ราอากรขาเข้าของวัต ถุดิ บ และสิ น ค้ ากึ่ งส าเร็ จรู ป
เพื่อลดต้นทุนของผู้ประกอบการให้แข่งขันกับสินค้าสาเร็จรูปนาเข้าที่มีอัตราอากรขาเข้าเป็นศูนย์
(๒) ส าหรั บ อุ ต สาหกรรมที่ แ ข่ ง ขั น กั บ สิ น ค้ า ส าเร็ จ รู ป น าเข้ า รั ฐ ต้ อ งมี ก ารจั ด สรร
งบประมาณช่วยเหลือเพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถปรับตัวได้อย่างเร็ว รวมถึงจัดทากองทุนช่วยเหลือ ผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า โดยกองทุนนั้นจะต้องเป็นกองทุนที่มั่นคง ต่อเนื่อง และเข้าถึงได้ง่าย
(๓) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ต้องเร่งการแก้ไขประกาศกระทรวงการคลังในเรื่อง
การยกเว้ น อากรขาเข้ าสิ น ค้ าที่ ผ ลิ ต ใน Free Zone เข้ ามาจ าหน่ ายในประเทศไทยตามมาตรา ๑๒ แห่ ง
พระราชกาหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ จากเดิมที่ประกาศดังกล่าวเป็นการยกเว้นชั่วคราว และไม่มี
กรอบเวลาที่แน่นอน ให้สอดคล้องกับสนธิสัญญาหรือความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่ไทยผูกพัน
(๔) หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดมาตรฐานสินค้า ได้แก่ สินค้าอุตสาหกรรม
สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม จะต้องเร่งจัดทามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ที่เป็น
มาตรฐานภาคบั งคับ เพื่อใช้ในการกากับดูแลสินค้านาเข้าให้ได้อย่างน้อยร้อยละ ๕๐ ของจานวนสินค้า ที่มี
การค้าขายระหว่างกันภายในระยะเวลา ๓ ปี โดยใช้มาตรฐานของสินค้าที่ผู้ประกอบการไทยผลิตได้ในประเทศ
เป็นมาตรฐานขั้นต่าในการกากับดูแลสินค้านาเข้า ในส่วนของสินค้าเกษตร สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ สานักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จะต้องดาเนิ นการจัดทามาตรฐานน าเข้าสินค้าเกษตร เพื่อป้องกันสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐานแต่ราคาต่าเข้ามา
จาหน่ายแข่งกับสิน ค้าในประเทศ ทั้งนี้ รัฐบาลจะต้องจัดสรรกาลังคนและงบประมาณให้ห น่วยงานดังกล่าว
เพื่อให้สามารถดาเนินการได้สาเร็จตามเป้าหมายด้วย
(๕) กฎถิ่น กาเนิด สิน ค้าในความตกลง CPTPP นั้น ซับ ซ้อ น มีทั้งที่ไ ด้ป ระโยชน์แ ละ
เสีย ประโยชน์ ซึ่งผู้ประกอบการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ดังนั้น จึงจาเป็นที่หน่วยงานภาครัฐจะต้องร่วมมือ
กับภาคเอกชนในการเร่งให้ความรู้กับผู้ประกอบการที่ผลิตและส่งออกไปยังประเทศสมาชิก CPTPP เพื่อให้
สามารถใช้ประโยชน์จากเกณฑ์กฎถิ่นกาเนิดสินค้าภายใต้ความตกลง CPTPP ได้สูงสุด
(๖) กรณี การรับ รองตนเอง (Self-Declaration) ภายใต้ กฎถิ่ นก าเนิ ดสิ นค้ า ต้ องมี การ
สงวนจนกว่ามีหลักเกณฑ์ที่ประเทศสมาชิกยอมรับหรือเห็นชอบร่วมกัน
๓) ประเด็นการค้าบริการ การลงทุน และการเข้าเมืองชั่วคราวสาหรับนักธุรกิจ
(๑) ภาครั ฐ ต้องหารือกับ กลุ่ มผู้ ประกอบการและหน่ ว ยงานที่ เกี่ย วข้ อง เพื่ อประเมิ น
ความพร้อม และกลุ่มใด/สาขาบริการใดจะได้รับผลกระทบ เพื่อพิจารณาออกมาตรการของรัฐในการสนับสนุน
ให้ เกิด การปรั บ ตั ว และแข่งขั น ได้ รวมถึ งพิ จารณาท่ าที ในการเจรจาจั ด ท าข้อ สงวนที่ จ ะไม่ เปิ ด ตลาดหรื อ
กาหนดเวลาปรับตัว (transition period) สาหรับกลุ่มที่อ่อนไหวสูงต่อไป
(๒) เพื่อให้ เกิดความคล่องตัวและอานวยความสะดวกแก่นักธุรกิจ /นักลงทุนต่างชาติ
ในการเข้ามาทาการค้าและการลงทุนในประเทศที่ในปัจจุบันยังต้องขอใบอนุญาตทางาน หรือ work permit
๗๙

อยู่นั้น รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สานักงานตรวจคนเข้าเมือง ควรพิจารณาปรับปรุงกฎระเบี ยบ


โดยให้นักธุรกิจ/นักลงทุนต่างชาติขอรับการตรวจรับลงตรา (VISA) ที่สามารถเข้ามาดาเนินกิจกรรมทางธุรกิจ
เป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ผิดกฎหมาย และมีความสะดวกเช่นเดียวกับ VISA สาหรับนักท่องเที่ยว
๔) ประเด็นการคุ้มครองสิทธิแรงงาน
(๑) กระทรวงแรงงานควรพิจารณาแก้ไข พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘
โดยต้องไม่กีดกันต่างด้าวในการก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงาน (ไม่ต้องกาหนดสัญชาติของผู้ก่อการจัดตั้งสหภาพ
แรงงาน) แต่ ให้ ส ามารถก าหนดเงื่ อ นไขและคุ ณ สมบั ติ ที่ เหมาะสมของผู้ ก่ อ การจั ด ตั้ งสหภาพแรงงานได้
ซึ่งไม่ถือเป็นข้อห้ามตามหลักการขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
(๒) ให้ ก ระทรวงแรงงานศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม ว่ า สมาชิ ก CPTPP ใดมี ก ฎหมายอนุ ญ าต
ให้แรงงานต่างด้าวสามารถก่อการจัดตั้งสหภาพแรงงานได้ เพื่อนามาพิจารณาประกอบการจัดทาท่าทีของไทย
ต่อประเด็นดังกล่าวในอนาคตต่อไป
๕) ประเด็นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)
(๑) ข้อ กั งวลในเรื่ องการก ากั บ ดู แลด้านพาณิ ช ย์ อิเล็ ก ทรอนิ กส์ อย่ างมี ป ระสิ ท ธิภ าพ
รวมถึ ง การก ากั บ ดู แ ลข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลซึ่ ง ถื อ เป็ น ทรั พ ย์ สิ น ที่ มี มู ล ค่ า เชิ ง พาณิ ช ย์ สู งมาก ภาครั ฐ ควรให้
ความสาคัญและแสดงข้อเรียกร้องของไทยในทุกเวที โดยเฉพาะองค์การการค้าโลกในเรื่องการกากับดูแลข้อมูล
ส่วนบุคคลอย่างเหมาะสมของผู้ประกอบการธุรกิจด้านดิจิทัลหรือ e - commerce ทั้งที่ตั้งอยู่ในต่างประเทศ
และในประเทศ โดยเฉพาะปัญหาการละเมิด ลักลอบ หรือนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้ในทางที่ผิดกฎหมาย
(๒) หน่ วยงานภาครั ฐที่ เกี่ ยวข้ อง ต้ องยกระดั บการก ากั บ ดู แลและคุ้ มครองผู้ บริ โภค
ในการซื้อขายสินค้าและใช้บริการด้านดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพ โดยร่วมมือกับภาค
ประชาสังคมและเครือข่ายผู้บริโภคอย่างเป็นรูปธรรมในการติดตามและร้องเรียนปัญหา การใช้มาตรการลงโทษ
ทางสังคม (social sanction) สาหรับผู้ให้ บริการ/แพลตฟอร์มที่มีการทาผิ ด ละเมิด หรือเอาเปรียบผู้ บริโภค
ผ่านสื่อดั้งเดิมและสื่อสังคมออนไลน์ (traditional and social medias) และการใช้เทคโนโลยีและปัญญาประดิษฐ์
(artificial intelligence) เพื่อติดตามตรวจสอบการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล หรือการเอาเปรียบผู้บริโภคอย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
(๓) รัฐบาลจะต้องมีมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการ e - commerce และ
แพลตฟอร์มของไทย ให้ มีขีดความสามารถในการแข่งขันและเติบโตได้ โดยเฉพาะในเวทีอาเซียน เพื่อเป็น
มาตรฐานในภูมิภาค และสามารถพัฒนาศักยภาพต่อไปในตลาดที่ใหญ่ขึ้น
(๔) ไทยอาจยอมรับเรื่องการยกเว้นการเก็บอากรขาเข้าสาหรับการส่งผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
(e - transmission) เช่ น การดาวน์ โหลดภาพยนตร์ เพลง หนั งสื อ หรือ สิ่ งพิ ม พ์ ฯลฯ เป็ น การถาวรตาม
บทบั ญญัติของ CPTPP ได้ เนื่องจากที่ผ่านมา ไม่ปรากฏว่ามีประเทศใดที่สามารถกากับดูแล และเรียกเก็บ
อากรขาเข้าได้ เว้นแต่จะมีการเปิดเผยรายได้โดยผู้ประกอบการเท่านั้น แต่ไทยต้องมีการปรับปรุงโครงสร้างภาษี
ภายในประเทศและนาภาษีประเภทใหม่เข้ามาใช้ โดยควรมีการเก็บภาษีดิจิทัล (digital tax) ขั้นต่าที่ร้อยละ ๒
กับผู้ ประกอบการที่ อยู่ นอกประเทศ และเก็บภาษี หั ก ณ ที่ จ่ าย ร้อยละ ๒ กั บผู้ ประกอบการ e – commerce
ในไทย เพื่ อ ให้ เกิ ด ความเป็ น ธรรมต่ อ ผู้ ป ระกอบการ และไม่ ก ระทบต่ อ ความสามารถในการแข่ งขั น ของ
ผู้ประกอบการในไทย
(๕) รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน เช่น สานักงานคณะกรรมการแข่งขัน
ทางการค้า ควรหารือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดทิศทางในการกากับดูแลผู้ให้บริการ e - commerce
๘๐

ให้บริการได้อย่างเสรีและเป็นธรรม มิให้ผู้ให้บริการรายใหญ่ ทั้งที่ตั้งอยู่ในไทยและต่างประเทศ ที่มีอานาจเหนือ


ตลาดมีพฤติกรรมที่กระทบต่อการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม
๖) ประเด็ น กลไกระงับ ข้ อพิ พ าทระหว่ า งนั ก ลงทุ น กับ รั ฐ (Investor-State Dispute
Settlement : ISDS)
(๑) การมีกลไก ISDS ภายใต้ CPTPP เป็นการเพิ่มช่องทางสาหรับนักลงทุนในการฟ้องรัฐ
แต่ไม่ใช่การเพิ่มความเสี่ย งสาหรับรัฐ เพราะความเสี่ ยงย่อมขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย ซึ่งการที่
นักลงทุนสามารถฟ้องรัฐได้ นักลงทุนต้องพิสูจน์ (burden of proof) ให้ได้ว่า ความเสียหายเกิดขึ้นจากมาตรการ
ของรัฐจริง ในขณะเดียวกัน ไทยก็เป็นประเทศผู้ส่งออกการลงทุนด้วย ดังนั้น การเพิ่มช่องทางให้นักลงทุนฟ้อง
รัฐก็เป็นการเพิ่มช่องทางให้นักลงทุนไทยในต่างประเทศสามารถฟ้องรัฐผู้รับการลงทุนได้เช่นกัน
(๒) หากไทยเข้าร่วมเจรจาเป็นสมาชิก CPTPP ไทยจะต้องเน้นย้าสิทธิในการกากับดู แล
ของรัฐ (Right to regulate) ว่า ครอบคลุมทุกมิติรวมทั้งด้านความมั่นคง โดยอาจเจรจาเพื่อจัดทาภาคผนวก
(Annex) ของข้อบทลงทุนที่ไทยมีสิทธิในการเจรจาข้อสงวน ซึ่งไทยอาจทาเป็น side letter หรือความตกลง
เฉพาะกับประเทศสมาชิกบางประเทศได้แล้วแต่กรณี
(๓) ไม่ ว่าประเทศไทยจะเข้าร่ว มเจรจาหรือเป็ นภาคีในความตกลงใด ๆ ในอนาคต
รั ฐ บาลต้ อ งสร้ า งกลไกเพื่ อ ให้ ห น่ ว ยงานราชการที่ เกี่ ย วข้ อ งรับ ทราบ และปรั บ ตั ว เพื่ อ ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ
ตามพันธกรณีได้อย่างครบถ้วน เพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันการเกิดข้อพิพาทระหว่างรัฐกับนักลงทุน
๗) ประเด็นการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ
(๑) เนื่ องจากที่ ผ่ านมาไทยยังไม่มี นโยบาย offset เป็น การเฉพาะ คณะกรรมาธิการ
เห็ น ว่า รัฐควรทาการศึกษาและกาหนดวัตถุประสงค์ในการใช้ offset ให้ ชัดเจน รวมถึงกาหนดระยะเวลา
ที่จาเป็นในการนา offset มาใช้เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศ
(๒) ให้ กรมบั ญ ชีกลางศึกษากฎหมาย ที่กฎระเบี ยบการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐของไทย
ไม่ส อดคล้ องกับ ความตกลง CPTPP รวมถึงกฎหมายหรือข้อบั งคับ อื่น ๆ ที่ก รมบั ญ ชีกลางเห็ นว่าสามารถ
ดาเนิ นการได้ เช่น บัญ ชีน วัตกรรม การกาหนดเงื่อนไขให้ นักลงทุนปฏิบัติ (performance requirements)
หรือกฎระเบียบกระทรวงการคลังฯ อื่น ๆ ที่ไทยควรจะปรับแก้ไขให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในระบบ
เศรษฐกิจโลก
(๓) หน่วยงานภาครัฐควรมีกระบวนการตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างที่ได้มาโดยเงินบริจาค
เพื่อความโปร่งใส และป้องกันการเอื้อประโยชน์แก่กลุ่มทุน
(๔) ให้ ก รมบั ญ ชี ก ลางพิ จ ารณาเปลี่ ย นจากผู้ มี อ านาจพิ จ ารณาค าอุ ท ธรณ์ จาก
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป เป็นคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์แทน โดยมีองค์ประกอบของคณะกรรมการฯ เป็นผู้ที่
ไม่มีส่วนได้เสียร่วมอยู่ด้วย เพื่อความเป็นธรรมในการพิจารณาอุทธรณ์
(๕) ให้สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย
และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและเสนอเป้าหมาย มาตรการ และระยะเวลาปรับตัว
ที่ชัดเจน รวมทั้งระบุความต้องการที่จะได้รับการสนับสนุนหรือปรับตัว เพื่อเสนอต่อรัฐบาลพิจารณาประกอบการ
ตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศต่อไป และให้รัฐบาลพิจารณาสนับสนุนข้อเรียกร้องของสมาคมฯ ทั้ง ๓ ข้อ
คือ (๑) จั ดตั้งสภาก่อสร้าง (๒) ให้ ใช้ต้นแบบสั ญญาของสหพันธ์วิศวกรที่ปรึกษานานาชาติ (FIDIC) และ (๓)
จัดทากฎหมายเพื่อกากับดูแลและส่งเสริมอุตสาหกรรมก่อสร้างเป็นการเฉพาะ
๘๑

(๖) เพื่อให้ การดาเนินการขององค์การเภสัชกรรม (อภ.) เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ


นโยบายสาธารณะด้านสังคมและสาธารณสุขของประเทศ รัฐบาลควรทบทวนบทบาท พันธกิจ และโครงสร้าง
ของ อภ. เพื่อความชัดเจนระหว่างการดาเนินภารกิจเพื่อความมั่นคงทางยาและเวชภัณฑ์ของไทย (การผลิต
และเก็บรักษายากาพร้า การวิจัยและพัฒนา เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน ฯลฯ) กับการดาเนินธุรกิจในเชิง
พาณิ ช ย์ เพื่ อที่ รั ฐ บาลจะสามารถจั ดสรรงบประมาณให้ อภ. ได้อ ย่างมี ป ระสิ ท ธิภ าพเพื่ อประโยชน์ สู งสุ ด
ของประชาชน และเพื่อความสอดคล้องกับความตกลงระหว่างประเทศ
๘) ประเด็นรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานที่ได้รับสิทธิพิเศษเพื่อความมั่นคงแห่งรัฐ
(๑) ข้อ ห่ ว งกั งวลในการด าเนิ น การของรัฐ วิ ส าหกิ จที่ อ าจซ้ าซ้ อ นกั น ระหว่างภารกิ จ
เพื่อสั งคมตามนโยบายของรัฐ และภารกิจในเชิงพาณิ ช ย์นั้ น หากรัฐ วิส าหกิจดังกล่ าวสามารถพิ สู จน์ ได้ว่า
การดาเนิ นธุรกิจของตนเป็ นการปฏิ บั ติตามนโยบายของรัฐ (government mandate) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ อ
สังคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินทางเศรษฐกิจ รัฐวิสาหกิจนั้นจะไม่ตกอยู่
ภายใต้พันธกรณีของความตกลง CPTPP
(๒) ไทยยังสามารถเจรจาเพื่อขอสงวนรั ฐ วิสาหกิจที่ไม่ส ามารถปฏิบัติตามข้อบทของ
CPTPP ในเรื่อง การห้ามเลือกปฏิบัติและการห้ามอุดหนุนหรือช่วยเหลือได้
(๓) กรณีองค์การเภสัชกรรม ภาครัฐควรมีการกาหนดบทบาทภารกิจให้ชัดเจน โดยเน้น
เรื่องเป้าหมายในการรักษาความมั่นคงทางยาและด้านสุขภาพประชาชนเป็นหลัก ควรพิจารณายกเลิกการส่งเงิน
เข้ าคลั งจากรายได้ เชิ งพาณิ ช ย์ เพื่ อ ไม่ ให้ เป็ น ภาระที่ ก ระทบต่ อ พั น ธกิ จหลั ก ของ อภ . เพื่ อ ประโยชน์ ข อง
ประชาชน และสนับสนุนให้เกิดการวิจัยและพัฒนา (R&D) เกี่ยวกับยาและเวชภัณฑ์ ทั้งนี้ ภาครัฐอาจพิจารณา
ทบทวนนโยบายในการจัดซื้อยาโดยวิธีเฉพาะเจาะจงจากองค์การเภสัชกรรม เนื่องจากอาจเป็นสาเหตุหนึ่ง
ที่ทาให้ประชาชนซื้อยาในราคาแพงในบางกรณี นอกจากนี้ หากตัดสินใจจะเข้าร่วมเจรจาเป็นสมาชิก CPTPP
รัฐบาลต้องตั้งข้อสงวน โดยกาหนดระยะเวลาเปลี่ยนผ่านสาหรับยา และเวชภัณฑ์ดังเช่นที่ประเทศสมาชิกอื่น ๆ
กาหนดไว้ เช่น เวียดนาม เป็นต้น
๙) ประเด็นด้านอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade : TBT)
(๑) หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถปรับแนวทางการดาเนินการให้ สอดคล้องกับข้อบท
TBT ได้ รวมถึงไทยมีสิทธิขอเจรจาเพื่อยกเว้นการปฏิบัติตามข้อกาหนดในความตกลง CPTPP ในบางกรณีได้
เนื่องจากประเทศภาคีอื่นได้รับสิทธิในการยกเว้นเช่นกัน โดยมีประเด็นที่อาจพิจารณาขอยกเว้นการปฏิบัติตาม
ข้อกาหนด ได้แก่ ผลิตภัณ ฑ์ ยา โดยยกเว้น ประเด็นการไม่ให้ ประเทศสมาชิกกาหนดเงื่อนไขให้ เภสั ชภัณ ฑ์
ที่ได้รับ อนุ ญาตจากหน่ วยงานกากับดูแลให้วางจาหน่ายในประเทศที่ผลิ ต ต้ องแสดงข้อมูล หลั กฐานประกอบ
ในการอนุญาตให้วางจาหน่ายในตลาด เนื่องจากไทยมีข้อจากัดด้านบุคลากรในการประเมิน และเครื่องสาอาง
โดยขอยกเว้น ประเด็น การไม่ให้ ระบุ เลขที่จดแจ้งบนฉลากเครื่องส าอาง เนื่องจากต้องทาให้ ผู้ บริโภคมั่นใจ
ในความปลอดภัย
(๒) ความตกลง CPTPP ไม่ได้ห้ามให้ไทยบังคับใช้มาตรฐานที่สูงกว่ามาตรฐานสากล ทั้งนี้
ไทยสามารถใช้มาตรฐานที่แตกต่างจากประเทศอื่นได้ หากมีเงื่อนไขในการกาหนดกฎระเบียบที่เป็นไปเพื่อ
การคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภค อีกทั้ง ความตกลง CPTPP มิได้ระบุให้ประเทศภาคีอื่นมีสิทธิตัดสินใจ
ในกระบวนการกาหนดมาตรฐานของไทย แต่เป็นเพียงแค่ข้อกาหนดให้สามารถให้คาปรึกษา ความเห็น หรือ
ข้อสังเกตเท่านั้น มิเช่นนั้นจะขัดกับหลักอานาจอธิปไตย (state sovereignty)
๘๒

(๓) หน่ ว ยงานที่เกี่ยวข้องควรเพิ่ มการกากับดูแลมาตรฐานและคุณ ภาพสิ นค้าน าเข้า


โดยเร่งกาหนดมาตรฐานบั งคับ ในระดับ ที่ ผู้ ประกอบการไทยสามารถทาได้ ให้ ครอบคลุ มสิ น ค้าอย่างน้อ ย
ร้อยละ ๕๐ ของสินค้าที่ทาการค้ากันภายใน ๓ ปี โดยรัฐบาลจะต้องจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการปรับปรุง
กฎระเบี ย บและการจัดทามาตรฐานสิ น ค้า เพื่อรองรับการเจรจาความตกลงการค้าเสรีสมัยใหม่ในอนาคต
ในขณะเดียวกัน หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะต้องพิจารณาและทบทวนมาตรการต่าง ๆ ในประเทศที่อาจเป็น
อุปสรรคทางการค้าที่ไม่จาเป็น เช่น มาตรการด้านฉลากเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(๔) การออกกฎหมายหรือมาตรการใดก็ตาม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ อคุ้มครองผู้บริโภค
สามารถกระทาได้ อย่างไรก็ดี การตีความถ้อยคาบนฉลากไวน์ อาทิ finest หรือ premium ว่าขัดกับประกาศฯ
เนื่ องจากเป็ น การอวดอ้างสรรพคุณ นั้ น เป็นเรื่องที่พิสู จน์ไม่ได้ และอาจถือเป็นการกีดกันการนาเข้า ดังนั้น
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ กรมควบคุมโรค ควรทบทวนประเด็นการตีความถ้อยคาที่ห้ามปรากฏบนฉลาก
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ให้เหมาะสมตามเจตนารมณ์
(๕) หน่ ว ยงานที่ เกี่ย วข้ อง ควรพิ จารณาการก าหนดภาษี สิ่ งแวดล้ อมนอกเหนื อ จาก
การเรียกเก็บภาษีศุลกากรและ/หรือภาษีสรรพสามิต ในการนาเข้าผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ที่ จ ะกลายเป็ น ขยะอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ นอนาคต ซึ่ ง การด าเนิ น การดั ง กล่ า วสอดคล้ อ งกั บ หลั ก การของ
พระราชบั ญญั ติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ นอกจากนี้ ควรมีการกาหนด
มาตรฐานสินค้า Remanufactured Goods โดยต้องมาใช้อย่างเท่าเทียมกัน ทั้งสาหรับสินค้านาเข้าและสินค้า
ที่ผลิตภายในประเทศ เพื่อควบคุมคุณภาพและความปลอดภัยสาหรับสินค้า Remanufactured Goods ด้วย
(๖) ส านั กงานมาตรฐานสิ นค้าเกษตรและอาหารแห่ งชาติ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ควรศึกษาแนวทางในการจัดทามาตรฐานสินค้าอินทรีย์ (Organic) ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และมีกระบวนการ
ตรวจสอบและรับรองที่มีความเป็นสากล เพื่อให้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สินค้าอินทรีย์ไทยมีความน่าเชื่อถือ
และเป็นที่ยอมรับในตลาดโลก รวมถึงกาหนดให้มีกลไกในการควบคุมราคาสินค้าอินทรีย์มีช่องทางการร้องเรียน
และมีกระบวนการกากับดูแลและตรวจสอบสินค้าที่ถูกแอบอ้างว่าเป็นสินค้าอินทรีย์ ซึ่งวางจาหน่ายในตลาด
โดยมีราคาสูง
(๗) ส านั ก งานคณะกรรมการกิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ
โทรคมนาคมแห่งชาติ ต้องดาเนินการกาหนดมาตรฐานหรือกระบวนการตรวจสอบและรับรอง เพื่อรองรับ
การให้ผู้ประกอบการสามารถรับรองตนเอง สาหรับสินค้าที่มีความเสี่ยงสูงด้านความเข้ากันได้ทางแม่เหล็กไฟฟ้า
(EMC) ซึ่ งไทยมี สิ ท ธิในการก าหนดเกณฑ์ ที่ จะใช้ ในการรับ รองฯ เพื่ อ ให้ แ น่ ใจว่าสิ น ค้ าได้ ม าตรฐานและมี
ความปลอดภัยก่อนนาเข้ามาในประเทศ
๑๐) ประเด็นมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary : SPS)
(๑) การประเมิ น ความเสี่ ย งและการใช้ ห ลั ก ฐานทางวิ ท ยาศาสตร์ ม าเป็ น หลั ก ฐาน
สนั บ สนุ น มาตรการที่ บั งคับ ใช้ เป็ น หลั ก การที่ ไทยต้อ งด าเนิน การให้ ส อดคล้ อ งกับ พั นธกรณี ภ ายใต้ WTO
และความตกลงอื่นๆ อยู่แล้ว ความตกลง CPTPP จึงเป็นการเพิ่มช่องทางการนาเรื่องเข้าสู่กระบวนการระงับ
ข้อพิพาทอีกช่องทางหนึ่ง
(๒) การกาหนดให้เผยแพร่ข้อมูลความเห็นที่ได้รับต่อสาธารณะที่ไทยไม่เคยดาเนินการ
มาก่อน แท้จริงแล้ วเป็ นสิ่ งที่มีประโยชน์ เพราะผู้ บริโภคจะได้รับข้อมูลครบถ้วน อีกทั้ง เป็นการแสดงความ
โปร่งใสและสามารถตรวจสอบการดาเนินการของไทย เพื่อประโยชน์ของผู้บริโภคของไทยและคู่ภาคีอื่นด้วย
๘๓

(๓) ในส่วนของการตรวจประเมิน (Audits) ของไทย ไทยควรจะต้องพัฒนาผู้ตรวจสอบ


ของฝ่ายไทย ให้มีความเชี่ยวชาญมากขึ้ น และพิจารณาสนับสนุนงบประมาณให้แก่ผู้ตรวจสอบเพื่อเดินทาง
ไปตรวจในต่างประเทศ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาความไม่โปร่งใส ความลาเอียง และความไม่ยุติธรรมจากการตรวจ
ประเมิน
(๔) กรณี ที่มีข้อกังวลว่า หากเปิดให้ นาเข้าสินค้าเนื้อสุ กรอาจส่งผลกระทบต่อราคา
เนื้อสุกรภายในประเทศ เนื่องจากราคาเนื้อสุกรของแคนาดาต่ากว่าราคาเนื้อสุกรของไทยมาก แม้จะรวมค่าขนส่ง
วัตถุดิบอาหารสัตว์ และโปรตีนต่าง ๆ แล้วนั้น คณะกรรมาธิการเห็นว่า ควรพิจารณาข้อเท็จจริงให้รอบด้าน
ปัจจุบันราคาสินค้าเนื้อสุกรที่ขายให้ผู้บริโภคในประเทศแคนาดา มีราคาสูงกว่าราคาในประเทศไทยถึงเกือบ ๒ เท่า
หากมีการส่งออกจากแคนาดาในราคาที่ต่ากว่าในราคาที่ซื้อขายในประเทศ ก็เข้าเงื่อนไขการทุ่มตลาด หากประสบ
ความเสียหาย ไทยสามารถพิจารณาใช้มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนได้ ตามพระราชบัญญัติ
การตอบโต้ ก ารทุ่ ม ตลาดและการอุ ด หนุ น ซึ่ งสิ น ค้ า จากต่ า งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่ งกระทรวงพาณิ ช ย์
โดยกรมการค้าต่างประเทศเป็นหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องดังกล่าว
๑๑) ประเด็นสินค้าขยะอันตราย
(๑) รัฐบาลจะต้องเร่งศึกษาประโยชน์และผลกระทบในการให้ สั ตยาบันต่อข้อแก้ไข
อนุสัญญาบาเซลเพื่อห้ามการส่งออก (Basel Ban Amendment๑๐) โดยเฉพาะในประเด็นผลกระทบที่จะเกิด
ขึ้นกับไทยจากการห้ามส่งออกของเสียอันตรายไปรีไซเคิลยังประเทศปลายทาง
(๒) การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมของไทยอาจมีปัญหาในทางปฏิบัติ แม้ว่ากฎหมาย
สิ่งแวดล้อมของไทยสอดคล้องกับหลักการ Polluter Pays Principle หรือผู้ก่อมลพิษเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่าย
แต่กรมควบคุมมลพิษไม่มีเจ้าหน้าที่เพียงพอที่จะดาเนินการตรวจสอบโรงงานทุกจุดที่ปล่อยมลพิษ รวมถึง
ยั งขาดกฎหมาย Environmental Monitoring Law เช่ น เดี ยวกับ นานาประเทศ ซึ่งก าหนดให้ ผู้ ก่อ มลพิ ษ
เป็ นผู้รับ ผิดชอบว่าจ้างบริษัทที่ผ่ านการรับรองโดยกรมควบคุมมลพิษ ในการกากับดูแลโรงงาน และบริษัท
ดังกล่าวจะส่งรายงานให้กรมฯ เป็นประจาเพื่อประกอบการประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมของโรงงาน
ดังนั้ น รัฐบาลควรเร่งออกกฎหมาย Environmental Monitoring Law โดยเร็ว เพื่ อให้ การกากับดูแลด้าน
สิ่งแวดล้อมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๓) รัฐบาลจะต้องมีนโยบายชัดเจนเกี่ยวกับการอนุญาตโรงงานรีไซเคิลในประเทศไทย
และการน าของเสี ย จากต่ างประเทศเข้ามารีไซเคิ ล ภายในประเทศ โดยคานึงถึงผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้ อ ม
และสุขภาพของชุมชน รวมทั้งทบทวนพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๖๒ ให้สอดคล้องกับนโยบายโรงงาน
รีไซเคิล
ทั้งนี้ การพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน มีกรรมาธิการบาง
ท่านขอสงวนความเห็น รายละเอียดปรากฏตามบันทึกขอแก้ไขสรุปรายงานการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
การค้า และการลงทุน จากการเข้าร่วมความตกลงที่ครอบคลุ มและก้าวหน้าสาหรับหุ้ นส่ วนทางเศรษฐกิจ
ภาคพื้นแปซิฟิก (CPTPP) ของนางสาวจิราพร สินธุไพร ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ในภาคผนวก ญ

๑๐
ข้อแก้ไขที่ห้ามประเทศพัฒนาแล้วส่งออกของเสียอันตรายไปยังประเทศกาลังพัฒนา ไม่ว่าจะมีจุดประสงค์เพื่อกาจัดทิ้ง หรือ
เพื่อรีไซเคิล
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
หนังสือตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
๘๗
๘๘
ภาคผนวก ข
ญัตติด่วน จานวน ๙ ฉบับ
ภาคผนวก ค
ผลกระทบและโอกาสด้านการเปิดตลาดของสินค้า
เกษตรไทยภายใต้ความตกลง CPTPP
๙๑

ภาคผนวก ค
ผลกระทบและโอกาสด้านการเปิดตลาดของสินค้าเกษตรไทย ภายใต้ความตกลง CPTPP

๑. สถานการณ์การค้าสินค้าเกษตร (ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒) ระหว่างไทยกับสมาชิก CPTPP

สัดส่วนการค้าของไทยกับโลก
ไทย - โลก
ต่อสมาชิก CPTPP ที่ไทยมี FTA แล้ว และยังไม่มี FTA
การส่งออก ๑.๒๙ ล้านล้านบาท ๗๒ : ๒๖ : ๒
การนาเข้า ๐.๔๙ ล้านล้านบาท ๗๘ : ๒๑ : ๑

 สินค้าส่งออกสาคัญ
มี FTA : เนื้อไก่ อาหารสุนัข น้าผักผลไม้ ผลไม้ น้ายาง ข้าว ทูน่ากระป๋อง น้าตาล กากสตาร์ช
ไม่มี FTA : ทูน่ากระป๋อง ข้าว กุ้ง ยาง TSNR ทุเรียน
 สินค้านาเข้าสาคัญ
มี FTA : กาแฟ เนื้อปลา เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ข้าวสาลี มอลต์ นม ครีม เบเกอรี่ แคปซูลยา เนย แอปเปิ้ล
อาหารปรุงแต่ง อาหารสัตว์ ปลาทะเลต่าง ๆ ซอส ปลาหมึก องุ่น และเครื่องดื่มต่าง ๆ
ไม่มี FTA : ข้าวสาลี ถั่วเหลือง มันฝรั่ง เจลาตินจากพืช ปลาซาร์ดีน และกุ้ง
๒. ผลกระทบด้านการเปิดตลาด (เฉพาะสินค้าเกษตร) กรณีที่ไทยเข้าร่วม CPTPP

ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ


(ครัวเรือน)
๑ ข้าวโพด ๔๒๕,๒๘๑ - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมีปริมาณการใช้ข้าวโพด - มีการนาเข้าข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และ/หรือ ๑. โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูก
เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์ ๘.๕๑ ล้านตัน ในขณะที่ผลผลิต วัตถุดิบทดแทนจากกลุ่มประเทศสมาชิก ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ มี ก ลุ่ ม เป้ า หมายคื อ
ในประเทศมี เ พี ย ง ๔.๒ ล้ า นตั น จึ ง มี ก าร CPTPP เพิ่ มมากขึ้น โดยเฉพาะแคนาดาที่ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยง
น าเข้ า ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ รวมถึ ง วั ต ถุ ดิ บ เป็นผู้ส่งออกอันดับต้นใน CPTPP ซึ่งอาจจะ สัตว์กับกรมส่งเสริมการเกษตร
ทดแทน เช่น ข้าวสาลี DDGS (กากข้าวโพด กระทบต่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ๒. มาตรการบริหารจัดการข้าวโพดเลี้ยง
ที่เหลือจากขบวนการผลิตเอทานอล) มาใช้ ในประเทศที่ความสามารถในการแข่งขัน มี สั ต ว์ ปี เพาะปลู ก ๒๕๖๒/๖๓ ซึ่ งนาเข้าได้
ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ ไม่มากนัก เฉพาะในช่วง ก.พ. - ส.ค. ของทุกปี

๙๒
- ต้นทุนการผลิตข้าวโพดของไทย ๖,๖๘๐
บาท/ตัน
- ข้ าวโพดเลี้ ยงสั ตว์ เป็ นสิ นค้ าที่ มี โควตาภาษี
ของไทย ภายใต้ WTO
๒ เนื้อสุกร ๑๗๓,๔๓๗ - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมี ผ ลผลิ ต สุ ก รจ านวน - อาจมีการน าเข้าเนื้อสุ ก รจากแคนาดา ๑. ยุทธศาสตร์การผลิ ตสุ กร ยกระดับการ
และ ๒๐.๕ ล้านตัว ซึง่ เป็นการบริโภคภายในประเทศ โดยเฉพาะเครื่ อ งในสุ ก ร ซึ่ ง จะส่ ง ผล ผลิตสุกรของประเทศทั้งระบบให้ได้มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ๙๖ และส่งออกร้อยละ ๔ กระทบต่อราคาในประเทศ โดยแคนาดาเป็น ๒. มาตรการรับมือโรคอหิ วาต์แอฟริกาใน
- ต้น ทุนการผลิ ตสุ ก รขุน ของไทย ๖๖.๖๖ ผู้ส่งออกสุกรและผลิตภัณฑ์รายใหญ่เป็น สุ ก ร ( Africa Swine Feve r: ASF) ซึ่ ง
บาท/กก. อันดับ ๖ ของโลก และเป็นอันดับ ๑ ใน คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็ นชอบให้เป็นวาระ
- คู่ค้าเนื้อสุ กรที่สาคัญ ได้แก่ ฮ่องกง และ กลุ่ ม CPTPP โดยในปี ๒๕๖๒ มี ก าร แห่งชาติ เมื่อวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๒
สปป. ลาว และคู่ค้าผลิตภัณฑ์สุกรที่สาคัญ ส่ งออกเนื้อสุ กรไปยัง โลกมูล ค่ า ๒,๕๙๓
ได้แก่ ญี่ปุ่น กัมพูชา และฮ่องกง ล้านเหรียญสหรัฐ และเป็นการส่งออกไปยัง
กลุ่ม CPTPP ร้อยละ ๔๗
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ
(ครัวเรือน)
๓ มะพร้าวแห้ง ๑๖๓,๕๕๙ - ใ นปี ๒ ๕๖๒ ไท ยมี ป ริ ม า ณผล ผลิ ต - ภายใต้ความตกลง AFTA มะพร้าวเป็น
ในประเทศ ๘๐๖,๐๒๖ ตั น ในขณะที่ มี ๑ ใน ๔ รายการสินค้าที่ไทยยังไม่ได้เปิด
ปริมาณใช้ในประเทศ ๑,๐๖๙,๐๕๐ ตัน จึง ตลาด โดยมีคู่แข่งที่ส าคัญคือ เวียดนาม
ต้องนาเข้ามะพร้าวผลแห้งจากต่างประเทศ ซึ่งเป็นสมาชิก CPTPP
- ไทยมีศักยภาพในการผลิ ตกะทิส าเร็จรูป - ดังนั้น การเข้าร่ว มความตกลง CPTPP
โดยในปี ๒๕๖๒ มีปริมาณส่งออก ๒๖๓,๑๒๑ ตัน อาจส่งผลให้ไทยต้องเปิดตลาดให้เวียดนาม
แต่การส่งออกในรูปของกะทิสาเร็จรูปของไทย และสมาชิก AFTA อีก ๓ ประเทศ อีกทั้ง
ลดลงเนื่องจากราคามะพร้าวผลของอินโดนีเซีย ยังส่งผลให้ไทยจะไม่สามารถใช้มาตรการ
และเวี ยดนามเฉลี่ ยผลละ ๓ - ๗ บาท ซึ่ ง SSG ในกรณี มี ก ารไหลทะลั ก ของสิ น ค้ า

๙๓
ถูกกว่าไทยที่ราคาเฉลี่ยผลละ ๑๐ -๑๕ บาท มะพร้าวเข้ามาในประเทศได้อีกด้วย
- ต้นทุนการผลิตมะพร้าวของไทย ๔,๓๘๑
บาท/ตัน
- มะพร้าวแห้งเป็นสินค้าที่มโี ควตาภาษีของไทย
ภายใต้ WTO
๔ เนื้อโค ๗๗,๙๓๖๔ - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมี ผ ลผลิ ต ในประเทศ - อาจเกิ ด การน าเข้ า เนื้ อ โคคุ ณ ภาพดี - ยุทธศาสตร์การพัฒนาโคเนื้อ ปี ๒๕๖๑ -
และ ๑.๓๕ ล้ านตัว โดยมีปริมาณใช้ในประเทศ จากต่างประเทศทดแทนเนื้อโคในประเทศ ๒๕๖๕ โดยมี ๓ ด้านดังนี้
ผลิตภัณฑ์ ๑.๒๖ ล้านตัว สาหรับส่วนที่เหลือแบ่งเป็น ซึ่งอุตสาหกรรมโคเนื้อเป็นอุตสาหกรรม ๑. การรักษาตลาดเนื้อโคไทยแนวทาง :
การส่ ง ออกโคมี ชี วิ ต ๓ แสนตั ว และการ ที่ เ ปราะบาง เกษตรกรยั ง ไม่ มี ศั ก ยภาพ การสกัดกั้นการนาเข้าเนื้อโคผิดกฎหมาย
ส่งออกเนื้อและผลิตภัณฑ์ ๘๔.๒๖ ตัน ในการแข่งขันมากนัก โดยปัจจุบันอยู่ระหว่าง และสกัดกั้นการใช้สารเร่งเนื้อแดง
- ไทยนาเข้าเนื้อโคมีชีวิต ๘๗,๗๑๔ ตัว และ การพัฒนาคุณภาพตามยุทธศาสตร์โคเนื้อ ๒. กระตุ้ น การเพิ่ ม ประชากรโคเนื้ อ
น าเข้ า เนื้ อ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ๑๓,๕๘๘ ตั น พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ แนวทาง : การเพิ่มปริมาณโคเนื้อทั้งระบบ
ด้วยเช่นกัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเนื้อโคคุณภาพดี เพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิ ต
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ
(ครัวเรือน)
- ต้ น ทุ น การผลิ ต โคขุ น ของไทยเท่ า กั บ โคขุ น สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ตลอดห่ ว งโซ่ ก าร
๘๗.๙๙ บาท/กก. (ลู ก ผสมพั น ธุ์ บราห์ มั น ผลิต
เฉลี่ยขนาดน้าหนัก ๓๕๐ - ๔๕๐ กก.) โดยมี ๓. การบริ ห ารจั ด การพื ช อาหารและ
คู่แข่งสาคัญได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อาหารสัตว์สาหรับโคเนื้อ
และสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นประเทศที่มีศักยภาพ แนวทาง : ปฏิ รู ประบบการผลิ ตการเก็ บ
ในการผลิตเนื้อโคมาก เกี่ยว การแปรรูป ตลอดจนการใช้ประโยชน์
นวั ตกรรมอาหารสั ต ว์ และระบบการ
จัดการให้อาหารโคเนื้อ
๕ ถั่วเหลือง ๒๗,๒๕๗ - มีความต้องการนาเข้า เนื่องจากผลผลิตมี - มี ก ารน าเข้ า เมล็ ด ถั่ ว เหลื อ งจากกลุ่ ม - มติ ครม. วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ รับทราบ

๙๔
ไม่เพีย งพอต่อความต้องการใช้ในประเทศ ประเทศสมาชิ ก CPTPP เพิ่ ม มากขึ้ น สรุ ป มติ ก ารประชุ ม คณะกรรมการพื ช
ซึ่ง ถั่ว เหลื อ งเป็น พืช ที่ดู แลรัก ษายาก และ โดยเฉพาะแคนาดาที่เป็นผู้ส่งออกอันดับ น้ามันและน้ามันพืช ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ และ
ขาดการพัฒนาเทคโนโลยีที่ช่วยในการเก็บเกีย่ ว ต้นใน CPTPP ซึ่งอาจจะกระทบต่อเกษตร ให้ ความเห็ นชอบการเปิดตลาดนาเข้าเมล็ ด
ถั่วเหลือง ประกอบกับต้นทุนทางด้านการผลิต ผู้ปลูกถั่วเหลืองในประเทศที่ความสามารถ ถั่วเหลือง ๓ ปี (ปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) โดยมี
มีราคาสูง ในการแข่งขันมีไม่มากนัก ผู้มีสิ ทธินาเข้าเมล็ ดถั่ว เหลื อง ๘ สมาคม
- ต้ น ทุ น การผลิ ต ของไทยเท่ า กั บ ๑๕.๕๑ ทั้ งนี้ ก าหนดให้ ผู้ มี สิ ทธิ เข้ า รั บซื้ อ เมล็ ด
บาท/กก. ในขณะที่ราคานาเข้าจากต่างประเทศ ถั่ ว เหลื องที่ ผ ลิ ต ได้ ใ นประเทศในราคา
เท่ากับ ๑๒.๒๘ บาท/กก. ทาให้ เกษตรกร ตามกลไกตลาด แต่ ไม่ ต่ ากว่ าราคาขั้ น ต่ า
ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นที่ให้ผลตอบแทน ตามชั้นคุณภาพ
ที่ ดี ก ว่ า เช่ น ข้ า วโพดเลี้ ย งสั ต ว์ นาข้ า ว
ข้าวโพดหวาน และพืชผัก
- ถั่วเหลืองเป็นสินค้าที่มีโควตาภาษีของไทย
ภายใต้ WTO ทั้งนี้ คู่ค้าที่สาคัญ ได้แก่ บราซิล
สหรัฐอเมริกา และแคนาดา
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ
(ครัวเรือน)
๖ กาแฟ ๒๗,๕๕๔ - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมีผลผลิตกาแฟ ๒๔,๖๑๔ - การน าเข้ า เมล็ ด กาแฟจากประเทศ ๑. การน าเข้า กาแฟภายในกรอบ AFTA
ตัน ในขณะที่มีปริมาณการใช้ในประเทศสูง สมาชิ ก อาจเพิ่ ม ขึ้ น และทดแทนเมล็ ด อยู่ในความดูแลของคณะอนุกรรมการพืช
ถึง ๑๐๐,๐๐๐ ตัน ดังนั้น จึงต้องนาเข้าจาก กาแฟพันธุ์พืชเมืองภายในประเทศ สวน ภายใต้ คณะกรรมการนโยบายและ
ต่างประเทศ - ไม่สามารถใช้มาตรการ SSG หากมีการ แผนพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ์
- กาแฟถือเป็นแหล่งอาชีพของเกษตรกรไทย นาเข้ากาแฟในปริมาณมากและกระทบ เป็ น ผู้ พิจ ารณาอนุ ญ าตน าเข้ า โดยไม่ ใ ห้
โดยได้ มี ก ารผลั ก ดั น อุ ต สาหกรรมกาแฟ การขายกาแฟของเกษตรกรไทย กระทบต่อเกษตรกรและผู้ประกอบการ
อย่างต่อเนื่อง - อาจไม่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การน าเข้ า ๒. ปัจจุบันได้มีการจัดทาแผนพัฒนากาแฟ
- ต้นทุนการผลิตกาแฟพันธุ์อาราบิก้าเท่ากับ สินค้า TRQ ได้ เนื่องจากการดาเนินงาน แห่งชาติ ปี ๒๕๖๒ - ๒๕๗๐ เพื่อปรับปรุง
๗๒,๘๐๐ บาท/ตัน และกาแฟพันธุ์โรบัสต้า ภายใต้กรอบ CPTPP ถูกกาหนดไว้ว่าต้อง ยุทธศาสตร์กาแฟให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์

๙๕
เท่ากับ ๕๕,๗๙๐ บาท/ตัน มีลักษณะโปร่งใส ชาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการระบบ
- คู่แข่งที่สาคัญ ได้แก่ เวียดนาม และอินโดนีเซีย การผลิตกาแฟและยกระดับคุณภาพมาตรฐาน
- กาแฟยังเป็นสินค้าที่มีโควตาภาษีของไทย และอัตลักษณ์กาแฟไทย
ภายใต้ WTO
๗ มันฝรั่ง ๙,๓๕๑ - ผลผลิ ต มั น ฝรั่ ง พั น ธุ์ โ รงงานที่ ผ ลิ ต ได้ - ลักษณะการผลิตมันฝรั่งของไทยเป็นการ ๑. ส่ ง เสริ ม การปลู ก มั น ฝรั่ ง ในประเทศ
ใ น ป ร ะ เ ท ศ มี ป ริ ม า ณ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ กั บ ผลิ ต เพื่ อ ป้ อ นเข้ า โรงงานอุ ต สาหกรรม ผ่านการทา Contract Farming ปี ๒๕๖๑
ความต้องการใช้ของโรงงาน จึงจาเป็นต้อง และมีผลผลิตไม่มากพอ หากมีการนาเข้า -๒๕๖๓
น าเข้ า จากต่ า งประเทศทุ ก ปี เพื่ อ ใช้ เ ป็ น มั น ฝรั่ ง จากสมาชิ ก CPTPP อาจส่ งผลให้ ๒. การนาเข้ามันฝรั่ง อยู่ในความดูแลของ
วัตถุดิบแปรรูปในอุตสาหกรรมขนมขบเคี้ยว ผู้ ประกอบการหั น ไปใช้ วั ต ถุ ดิ บ น าเข้ า คณะอนุ ก รรมการจั ด การการผลิ ต และ
- ในปี ๒๕๖๒ มี ป ริ ม าณความต้ อ งการใช้ ทดแทน จากเหตุ ผ ลทางด้ า นราคาและ การตลาด กระเทียม หอมแดง หอมหัวใหญ่
ในประเทศ ๓ แสนตั น ในขณะที่ ผ ลิ ต ความมีเสถียรภาพของผลผลิต และมันฝรั่งภายใต้คณะกรรมการนโยบาย
ในประเทศได้ ๑.๒๗ แสนตัน และแผนพั ฒ นาการเกษตรและสหกรณ์
- จานวนเกษตรผู้ปลูกมันฝรั่งมีแนวโน้มเพิ่ม เป็ น ผู้ พิจ ารณาอนุ ญ าตน าเข้ า โดยไม่ ใ ห้
สู งขึ้น เนื่ องจากมีการส่ งเสริ มให้ ปลู กมั นฝรั่ ง กระทบต่อเกษตรกรและผู้ประกอบการ
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ
(ครัวเรือน)
โดยมี ต้ น ทุ น การผลิ ต พั น ธุ์ บ ริ โ ภค ๘,๑๙๐
บาท/ตัน และพันธุ์โรงงาน ๖,๑๗๙ บาท/ตัน
- มันฝรั่งเป็นสินค้าที่มีโควตาภาษีของไทย
โดยเปิ ด ตลาดหั ว มั น ฝรั่ ง สดเพื่ อ แปรรู ป
ภายใต้ WTO ปี ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓ ปี ล ะ
๕๒,๐๐๐ ตัน อัตราภาษีในโควตา ร้อยละ ๒๗
อัตราภาษี และนอกโควตา ร้อยละ ๑๒๕
๘ ปลาป่น ๗๐ โรงงาน - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมี ผ ลผลิ ต ปลาป่ น ใน - ไทยไม่ เ ปิ ดตลาดสิ น ค้ า ปลาป่ นภายใต้
ประเทศ ๓.๕ แสนตัน โดยมีปริมาณการใช้ ความตกลงการค้าเสรีไทย - เปรู ซึ่งเปรู

๙๖
ในประเทศ ๒.๘ แสนตัน ปริมาณการส่งออก เป็นประเทศที่มีศักยภาพในการผลิตปลาป่น
๑.๒ แสนตัน และปริ มาณการนาเข้า ๐.๕ - การเข้าร่วมความตกลง CPTPP อาจทาให้
แสนตัน ไทยต้ อ งเปิ ด ตลาดให้ สิ น ค้ า ปลาป่ น
- ผลผลิตปลาป่นแปรผันตามความต้องการ จากเปรู เ ข้ า มาตี ต ลาดไทยเพิ่ ม มากขึ้ น
ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ภายในประเทศ อาจจะส่ ง ผลกระทบต่ อ เกษตรกรหรื อ
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเพาะเลี้ ยงกุ้งทะเล โรงงานผลิตสินค้าปลาป่นในไทย
และปศุสัตว์ที่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น
๙ ชา - - ใ น ปี ๒ ๕ ๖ ๒ ไ ท ย มี ผ ล ผ ลิ ต ช า ส ด การเปิ ด ตลาดสิ น ค้ า ชาอาจกระทบต่ อ ๑. ยุทธศาสตร์ชา ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ เน้น
๑๐๒,๙๑๔ ตัน โดยมีการนาเข้าชาแห้งและ เกษตรผู้ ป ลู ก ชาในประเทศ ซึ่ ง อาชี พ ที่ พัฒ นาตั้ ง แต่ ต้น ทาง กลางทาง โดยเพิ่ ม
ผลิตภัณฑ์ชารวม ๑๐,๒๐๗ ตัน และส่งออก รัฐบาลส่ งเสริ มให้ กับ ชุ มชนในภาคเหนื อ ประสิทธิภาพการผลิตลดต้นทุนการผลิ ต
ชาแห้งและผลิตภัณฑ์ชารวม ๕,๘๘๗ ตัน อี ก ทั้ ง สิ น ค้ า ชายั ง เป็ น สิ น ค้ า อ่ อ นไหว การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า รวมทั้งพัฒ นา
- ต้นทุนการผลิตชาอัสสัมสดของไทยเท่ากับ ภายใต้ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทย คุณภาพชาเพื่อยกระดับขีดความสามารถ
๙,๘๒๐ บาท/ตั น และชาจี น สดเท่ า กั บ กั บ ญี่ ปุ่ น ซึ่ ง หากเข้ า ร่ ว มความตกลง และศักยภาพในการแข่งขัน
๓๕,๐๕๗ บาท/ตัน CPTPP ไทยอาจต้องเปิดตลาดให้ญี่ปุ่น
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น แผนงาน/มาตรการ
(ครัวเรือน)
- การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๒. การน าเข้ า ชา อยู่ ใ นความดู แ ลของ
ในรู ป ของชาแห้ ง และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ช า โดยมี ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร พื ช ส ว น ภ า ย ใ ต้
ตลาดส่งออกหลัก ได้แก่ อินโดนีเซีย กัมพูชา คณะกรรมการนโยบายและแผนพั ฒ นา
และสหรัฐอเมริกา การเกษตรและสหกรณ์ เป็ น ผู้ พิ จ ารณา
- ในขณะที่ ค วามต้ อ งการใช้ ใ นประเทศ อนุ ญ าตน าเข้ า โดยไม่ ใ ห้ ก ระทบต่ อ
เพิ่ ม ขึ้ น ท าให้ มี ก ารน าเข้ า ชาแห้ ง เพิ่ ม ขึ้ น เกษตรกรและผู้ประกอบการ
อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยน าเข้ า จากประเทศจี น
อินโดนีเซีย และญี่ปุ่น
- นอกจากนี้ ชายังเป็นสินค้าที่มีโควตาภาษี

๙๗
ของไทยภายใต้ WTO
๑๐ กล้วยไม้ตัด - - ในปี ๒๕๖๒ ไทยผลิ ต กล้ ว ยไม้ ตั ด ดอก - ไม้ ตั ด ดอกเป็ น สิ น ค้ า อ่ อ นไหวภายใต้ ๑. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี
ดอก จานวน ๔๘,๕๓๙ ตัน เป็นการใช้ในประเทศ กรอบความตกลง AFTA หรื ออาเซี ย นที่ ๒. ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การผลิต
๑๙,๒๓๒ ตั น และส่ ง ออก ๒๓,๐๘๗ ตั น ยังคงมีการจัดเก็บภาษีนาเข้าที่ร้อยละ ๕ ระหว่ า งกลุ่ ม เกษตรกร และนั ก วิ ช าการ
นอกจากนี้ ไทยยังส่งออกกิ่งและต้นกล้วยไม้ ซึ่งการเข้าร่ว ม CPTPP อาจส่งผลให้ไทย จากภาครัฐ และสถาบันการศึกษา
จานวน ๓๑,๘๘๑ ต้น ต้ อ งเปิ ด ตลาดให้ ส มาชิ ก จากอาเซี ย น ๓. ภาครัฐร่วมกับเกษตรกรและผู้ ประกอบการ
- ต้ น ทุ น การผลิ ต ของไทยเท่ า กั บ ๕๓.๗๒ ได้แก่ เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ และ วางแผนการผลิ ต ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ
บาท/กก. และประเทศคู่ค้าที่สาคัญของไทย บรูไน ต้องการ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน อิตาลี และ ๔. ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาการผลิ ต กล้ ว ยไม้
สหภาพยุโรป ให้ ได้มาตรฐาน GAP รวมถึงโรงรวบรวม
และการคัดบรรจุที่มีมาตรฐาน GMP
๓. โอกาสจากการเปิดตลาด (เฉพาะสินค้าเกษตร) กรณีที่ไทยเข้าร่วม CPTPP
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด โอกาสจากการเปิดตลาด แผนงาน/มาตรการ
๑ ข้าว ๑. ข้าวนาปี - การใช้ในประเทศ ปี ๒๕๖๓ คาดว่ามีการ - ขยายตลาดไปยัง แคนาดาและเม็กซิโ ก ๑. โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว
๔,๒๘๘,๐๙๒ ใช้ในประเทศ ๑๗.๑๐ ล้านตัน ข้าวเปลือก ซึ่ ง เป็ น ประเทศที่ มี มู ล ค่ า การน าเข้ า ข้ า ว ปี ๒๕๖๒/๖๓
ครัวเรือน ลดลงจากปี ๒๕๖๒ ร้อยละ ๐.๐๖ เนื่องจาก พรี เ มี ย มของไทยในปริ ม าณที่ สู ง (๓.๓ ๒. มาตรการรักษาเสถียรภาพราคาข้าวเปลือก
๒. ข้าวนาปรัง ความต้ อ งการใช้ เ พื่ อ ผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ และ พันล้านบาท) ปีการผลิต ๒๕๖๒/๖๓ (คู่ขนานโครงการ
๓๒๕,๑๙๖ อุ ต สาหกรรมมี แ นวโน้ ม ลดลงเล็ ก น้ อ ย - ได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากการยกเลิก ประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว)
ครัวเรือน - การส่ ง ออกในปี ๒๕๖๓ คาดว่ า ไทยจะ ภาษี น าเข้ า ข้ า วของมาเลเซี ย ซึ่ ง ภายใต้
ส่งออกได้ประมาณ ๗.๕๐ - ๘.๐๐ ล้านตัน ความตกลง AFTA มาเลเซี ย ยั ง คงมี ก าร
ข้าวสาร เนื่องจากตลาดข้าวในต่างประเทศ จัดเก็บภาษีนาเข้าอยู่
มีการแข่งขันกันสูง และค่าเงินบาทที่แข็งค่า

๙๘
ส่งผลให้ราคาข้าวไทยสูง กว่าประเทศคู่แข่ง
เช่ น เวี ย ดนาม และอิ น เดี ย เป็ น ต้ น ซึ่ ง
อาจจะส่งผลให้ประเทศคู่ค้าชะลอการสั่งซื้อ
ข้า วไทยและเปลี่ ยนไปซื้ อจากประเทศที่ มี
ราคาถู ก กว่ า แทน เช่ น เวี ย ดนาม และ
กัมพูชา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถ้าค่าเงินบาท
อ่อนค่าลงจากปี ๒๕๖๒ และภาวะเศรษฐกิจ
โลกดี ขึ้ น ประเทศที่ มี ก าลั ง ซื้ อ สู ง และ
ประเทศที่ เ ป็ น คู่ ค้ า กั บ ไทยมานาน เช่ น
สหรั ฐ อเมริ ก า ฮ่ อ งกง แอฟริ ก า และ
ตะวันออกกลาง เป็นต้น อาจจะมีคาสั่ งซื้อ
ข้าวเข้ามาอย่างต่อเนื่องเช่นที่เคยปฏิบัติมา
เนื่องจากข้าวไทยมีคุณภาพดี
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด โอกาสจากการเปิดตลาด แผนงาน/มาตรการ
- ต้ น ทุ น การผลิ ต ข้ า วนาปี เ ฉลี่ ย ๙,๘๕๓
บาท/ตั น และต้ น ทุ น การผลิ ต ข้ า วนาปรั ง
เฉลี่ย ๗,๗๙๙ บาท/ตัน
- ข้ า วเป็ น สิ น ค้ า ที่ มี โ ควตาภาษี ข องไทย
ภายใต้ WTO

๒ ยางพารา ๑,๕๐๘,๐๕๑ - ความต้องการใช้ยางพาราของไทยเพิ่มขึ้น - คาดว่าจะเพิ่มโอกาสการส่งออกยางพารา ๑. โครงการสนั บ สนุ น สิ น เชื่ อ อาทิ


ครัวเรือน เนื่องจากการขยายฐานการผลิตของอุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น เ งิ น ทุ น หมุ นเวี ยนแก่ ส ถาบั น เกษตรกร
จากต่างประเทศทั้งอุตสาหกรรมยางล้อและ - เกิดการจ้างงานในแรงงานอุตสาหกรรม เพื่อรวบรวมยาง สถาบันเกษตรกรแปรรู ป
อุตสาหกรรมแบบจุ่ม เช่น ถุงมือยาง และเพิ่มปริมาณการใช้ยางมากขึ้น ยางพารา เงินทุนหมุนเวียนแก่ผู้ประกอบ

๙๙
- นอกจากนี้ ภาครัฐยังส่งเสริม/สนับสนุนให้ กิจการยาง (ยางแห้ ง) สิ นเชื่ อผู้ ประกอบการ
น้ายางพารามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ผลิตผลิตภัณฑ์ยาง
เพื่อใช้ภายในประเทศรวมถึงส่งเสริมให้มีการ ๒. โครงการส่งเสริมการใช้ยางของหน่วยงาน
ใช้ยางพาราในหน่วยงานภาครัฐเพิ่มมากขึ้น ภาครัฐ โครงการ ๑ หมู่บ้าน ๑ กิโลเมตร
- สาหรับราคาที่ปรับตัวลดลงต่ อเนื่อง เป็น ๓. โครงการประกั น รายได้ เ กษตรกร
ผลจากความกังวลของนักลงทุนที่มีต่อความ ชาวสวนยาง
ไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและการเมือง ราคา
ยางยังคงผันผวนและปรับตัวในกรอบจากัด
- ต้นทุนการผลิตยางแผ่นดิบ ๕๖,๐๙๐ บาท/ตัน
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด โอกาสจากการเปิดตลาด แผนงาน/มาตรการ
๓ น้าตาลทราย ๔๒๗,๕๘๘ ราย - ไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่อันดับ ๒ - ขยายตลาดน้าตาลทรายไปยังแคนาดา ๑. โครงการสินเชื่อเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ของโลก รองจากบราซิล และเม็กซิโก การผลิตอ้อยอย่างครบวงจร (ระยะที่ ๒)
- โดยในปี ๒๕๖๒ ไทยมี ผ ลผลิ ต น้ าตาล ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ – ๒๕๖๔
๑๓.๗๕ ล้านตัน และส่งออกไปยังตลาดโลก ๒. โครงการเงินช่วยเหลือเกษตรกรชาวไร่อ้อย
๙ .๗ ๒ ล้ า น ตั น คิ ด เ ป็ น ส่ ว น แ บ่ ง ก า ร เพื่อซื้อปัจจัยการผลิต
ตลาดโลกร้อยละ ๑๖.๙๕ ๓. โครงการจัดสรรเงินรายได้ของกองทุน
- คู่ แ ข่ ง ที่ ส าคั ญ คื อ บราซิ ล อิ น เดี ย และ อ้ อ ยและน้ าตาลทรายให้ แ ก่ ช าวไร่ อ้ อ ย
ออสเตรเลีย ฤดูการผลิต
- ต้นทุนการผลิตอ้อยโรงงาน ๙๖๒ บาท/ตัน
- น้ าตาลเป็นสิ นค้าที่มีโควตาภาษีของไทย

๑๐๐
ภายใต้ WTO

๔ กุ้งและ ๒๑,๗๘๖ ฟาร์ม - ในปี ๒๕๖๒ ไทยมี ป ริ ม าณผลผลิ ต กุ้ ง - แคนาดาเป็ น หนึ่ ง ในสมาชิ ก CPTPP ๑. โครงการเพิ่มขีดความสามารถด้านการผลิต
ผลิตภัณฑ์ ในประเทศ ๓๗๐,๒๐๑ ตัน โดยมีปริมาณใช้ ที่เป็นตลาดส่งออกกุ้งแปรรูปที่สาคัญของไทย และการตลาดกุ้ ง ทะเลเพื่ อ การบริ โ ภค
ในประเทศ ๕๕,๐๐๐ ตั น ส าหรั บผลผลิ ต - หากเข้าร่วมความตกลง CPTPP ไทยอาจ ภายในประเทศ ปี ๒๕๖๑ ระยะเวลา
ส่วนเกินเป็นการส่งออก โดยส่งออกในรูปแบบ ขยายการส่งออกกุ้งแปรรูปไปยังแคนาดาได้ ดาเนินการ ๔ ปี (ปี ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) โดย
ของกุ้งแช่เย็นแช่แข็ง และกุ้งแปรรูป อีกทั้ง ยังอาจสามารถรักษาตลาดกุ้งแช่แข็ง คณะกรรมการบริ ห ารกองทุ น รวมเพื่ อ
- ต้นทุนการผลิตกุ้งขาวแวนนาไม ๑๑๘.๓๘ ในญี่ปุ่น ช่ ว ยเหลื อ เกษตรกร (คชก.) สนั บ สนุ น
บาท/กก. งบประมาณ และให้กรมประมงดาเนินการ
- คู่ค้ ากุ้ งแช่เ ย็น แช่ แข็ งที่ ส าคัญ ได้แ ก่ จี น กิจกรรมโครงการ
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฮ่องกง และไต้หวัน
- คู่ ค้ า กุ้ ง แปรรู ป ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ญี่ ปุ่ น
สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ สหภาพยุโรป และ
แคนาดา
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด โอกาสจากการเปิดตลาด แผนงาน/มาตรการ
๕ เนื้อไก่ ๕,๗๕๙ ครัวเรือน - ไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพผลิตเนื้อไก่ - รักษาตลาดและขยายการส่งออกเนื้อไก่ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไ ด้ จั ด ท า
และ และผลิตภัณฑ์ ปรุงแต่งไปญี่ปุ่น เนื่องจากญี่ปุ่นยังไม่เปิด ยุทธศาสตร์ไก่เนื้อ เพื่อใช้เป็นกรอบในการ
ผลิตภัณฑ์ - ต้ น ทุ น การผลิ ต ไก่ เ นื้ อ ของไทย ๓๒.๕๓ ตลาดสินค้าไก่ปรุงแต่งภายใต้ FTA ระหว่าง พั ฒ นาและเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ
บาท/กก. ไทยกับญี่ปุ่น อีกทั้งอาจสามารถขยายตลาด แข่งขันกับต่างประเทศ
- ในปี ๒๕๖๒ ไทยผลิ ต ได้ ๒.๑๑ ล้ านตั น ส่งออกเนื้อไก่ปรุงแต่งไปยังประเทศแคนาดา
โดยไทยส่งออกรวม ๙.๐๒ แสนตัน แบ่งเป็น ได้อีกด้วย
การส่งออกไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง ๓.๑๒ แสนตัน
และไก่แปรรูป ๕.๙๐ แสนตัน
- คู่ค้าที่สาคัญของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น สหภาพ
ยุโรป และอาเซียน

๑๐๑
๖ ผลไม้ - ไทยเป็นประเทศที่มีศักยภาพการผลิตและ - ขยายการส่ ง ออกผลไม้ ข องไทย เช่ น
การส่ งออกผลไม้เมืองร้อนหลายชนิด เช่น ลาไย ทุเรียน มังคุด มะม่วง ลองกอง เงาะ
สับปะรด ลาไย ทุเรียน มังคุด มะม่วง ลองกอง และส้ ม โอ ไปยั ง แคนาดา และเม็ ก ซิ โ ก
เงาะ และส้มโอ รวมทั้งการปรับปรุงมาตรฐานในการผลิต
- ประเทศคู่ค้าผลไม้ส าคัญ ได้แก่ จีน และ และส่ งออก (แต่ป ระเทศในกลุ่ ม CPTPP
เวียดนาม ไม่ ใ ช่ ป ระเทศหลั ก ในการบริ โ ภคและ
ส่งออกผลไม้ของไทย)
- อาจสามารถขยายการส่งออกผลิตภัณฑ์
สับปะรดจากการลดภาษีในประเทศญี่ปุ่น
แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และเปรู
ในสินค้าสับปะรด โดยสั บปะรดกระป๋อง
ตารางลดภาษีภายใต้ความตกลง CPTPP
ลาดับ สินค้า จานวนเกษตรกร สถานการณ์การผลิต/การตลาด โอกาสจากการเปิดตลาด แผนงาน/มาตรการ
อาจสร้างประโยชน์เพิ่มเติมจากความตกลง
ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในประเทศที่มีตลาด
สินค้าอยู่แล้ว เช่น ญี่ปุ่น ที่เดิมได้สิทธิ์ภาษี
จากความตกลง AJCEP ๒๕.๕% เหลื อ
๑๘.๕% หรือออสเตรเลีย จากภาษีพื้นฐาน
MFN ๕% เหลื อ ๐% เมื่ อ ความตกลง
มีผลบังคับใช้
- โอกาสทางการค้าโดยใช้สิทธิ Rules of
Origin (RoO) ในอุ ต สาหกรรมการผลิ ต
ต่อเนื่องหรือส่งออกเพิ่มขึ้น โดยมีตลาดใหม่

๑๐๒
ที่ไทยจะได้สิ ท ธิ์ทางภาษี ได้แก่ เม็กซิโ ก
และแคนาดา ซึ่ ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การ
ส่ ง ออกไปยั ง สหรั ฐ อเมริ ก าผ่ า นสิ ท ธิ์
Border Trade (USMCA)
ภาคผนวก ง
ความเห็นต่อข้อกังวลของเกษตรกรและแนวทางการแก้ไข/
พัฒนาเพื่อให้เกษตรกรไทยมีความพร้อมก่อนการเข้าร่วม
อนุสัญญา UPOV 1991
๑๐๔

ภาคผนวก ง
ความเห็นต่อข้อกังวลของเกษตรกร และแนวทางการแก้ไข/พัฒนา เพื่อให้เกษตรกรไทยมีความพร้อมก่อนการเข้าร่วมอนุสัญญา UPOV 1991

ข้อกังวล ข้อเท็จจริง แนวทางการแก้ไข/พัฒนา


๑. เกษตรกรยั ง ขาดความพร้ อ มและความเข้ า ใจ กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร
เกี่ ยวกั บการเข้ าร่ วมความตกลง CPTPP และการเป็ น และกรมส่ งเสริ มสหกรณ์ ด าเนิน การสร้า งการรับ รู้
ภาคีอนุสัญญา UPOV 1991 และผลกระทบที่จะเกิด แก่เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้อง
๒. เกษตรกรรายย่ อยอาจถูกกล่ าวหาว่าละเมิดสิทธิ - มาตรา ๑๔ (๒) เกี่ยวกับสิ่งที่เก็บเกี่ยวได้ รวมถึงพืช ให้ใช้ประโยชน์จากมาตรา ๑๕ (๒) โดยให้ระบุข้อความ
หากขยายพันธุ์เอง และต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ทั้ ง ต้ น และส่ ว นของพื ช ที่ ไ ด้ จ ากการใช้ ชิ้ น ส่ ว น เพื่ อ ยกเว้ น สิ ท ธิ นั ก ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ
ขยายพั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ คุ้ ม ครอง โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต เกษตรกร ดังตัวอย่าง เช่น
จะต้องขออนุญาตจากนักปรับปรุงพันธุ์ เวี ย ดนาม : “การจ ากั ด สิ ท ธิ ผู้ ท รงสิ ท ธิ การกระท า
- มาตรา ๑๕ (๒) (ข้ อ ยกเว้ น สิ ท ธิ นั ก ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ดัง ต่ อไปนี้ ไม่ ถือ เป็ นการละเมิด สิ ท ธิส าหรับ พัน ธุ์พื ช
ที่ เ ป็ น ทางเลื อ ก) ภาคี ส มาชิ ก ใดอาจจ ากั ด สิ ท ธิ ที่ได้รับความคุ้มครอง : การใช้วัสดุเก็บเกี่ยวพันธุ์พืช
นั ก ปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ที่ มี อ ยู่ ใ นพั น ธุ์ ใ ด ๆ ได้ โดยการ ที่ได้รับความคุ้มครองโดยผู้ ผลิตในครัวเรือนเพื่อการ
อนุญาตให้เกษตรกรใช้ผลิตผลที่เก็บเกี่ยวได้จากการ ขยายพันธุ์และการเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไปบนพื้นที่
เพาะปลูกพันธุ์คุ้มครอง ในพื้นที่ของตนเอง (ทั้งนี้ ต้องอยู่ ของตนเอง”
ภายใต้ ข อบเขตที่ ส มเหตุ ผ ลและเป็ น การรั ก ษา กลุ่ มประเทศ African Intellectual Property Organization :
ผลประโยชน์ที่ชอบด้วยกฎหมายของนักปรับปรุงพันธุ์) “ข้อยกเว้นสิทธินักปรับปรุงพันธุ์พืช สิทธิของผู้ทรงสิทธิ
จะต้องไม่รวมถึง : การใช้สิ่ งเก็บเกี่ยวที่ได้มาจากการ
เพาะปลูกพันธุ์พืชคุ้มครองเพื่อใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์
ในฤดู ก าลต่ อ ไปโดยเกษตรกรเอง ซึ่ ง ข้ อ ยกเว้ น นี้
ไม่รวมถึงไม้ผล พืชป่าไม้ ไม้ดอกไม้ประดับ”
๓. เกษตรกรขาดความรู้ในการคัดเลือกพันธุ์ ในการ - มาตรา ๑๔ (๒) เกี่ยวกับสิ่งที่เก็บเกี่ยวได้ รวมถึงพืช เพื่อการส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร และปรัชญา
เก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ห รื อ ขยายพั น ธุ์ เ อง ท าให้ ผ ลผลิ ต ต่ า ทั้งต้น และส่วนของพืช ที่ได้จากการใช้ชิ้นส่วนขยายพันธุ์ เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง รั ฐ บาลควรมี น โยบายสนั บ สนุ น
ไม่สามารถแข่งขันในตลาดได้ จาเป็นต้องซื้อเมล็ดพันธุ์ ของพันธุ์คุ้มครอง โดยไม่ได้รับอนุญาต จะต้องขออนุญาต การดาเนินงานของภาครัฐและเอกชน ดังนี้
จากนักปรับปรุงพันธุ์
ข้อกังวล ข้อเท็จจริง แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
จากบริษัทซึ่งไม่สามารถขยายพันธุ์เองได้ ต้นทุนการผลิต - ตั้งเป้าหมายสนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวของ ได้แก่
สูงขึ้น และไม่ยั่งยืน กรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว กรมส่งเสริมการเกษตร
หรื อหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง ด าเนิ นการวิ จั ย รวบรวม
พัฒนา รักษา และกระจายพันธุ์พืชลูกผสม/พันธุ์ผสม
เปิ ด พื้ น เมื อ งคุ ณ ภาพดี แ ก่ เ กษตรกร เป็ น การรั ก ษา
ความสมดุ ล ระหว่ า งพัน ธุ์ ลู ก ผสมที่ เ ป็น การค้า และ
พันธุ์ดีที่เกษตรกรสามารถปลูกและเก็บพันธุ์เองได้ เพื่อ
เป็นทางเลือกแก่เกษตรกร
- บู ร ณาการหน่ ว ยงานเพื่ อ เชื่ อ มโยงกระบวนการ
ท างานในภารกิ จ การผลิ ต พั น ธุ์ พื ช แบบครบวงจร
ทั้งระบบ ตั้งแต่กระบวนการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์พืช
การคัดเลื อกพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืช ตามชั้นพันธุ์

๑๐๕
การจาหน่ายพันธุ์พืช จากภาครัฐ โดยตรงสู่ เกษตรกร
โดยสนับสนุนงบประมาณ และเครื่องมือวัสดุอุปกรณ์
ที่ทันสมัยพร้อมในการปรับปรุงสภาพพันธุ์พืช การตรวจสอบ
คุณภาพและมาตรฐานพันธุ์พืช บริการแก่เกษตรกร
- ภาครัฐ ดาเนินการสร้างเครือข่ายการผลิตพันธุ์พืช
ชุมชน โดยให้ มีพื้นที่การผลิ ตพันธุ์พืช ตามศักยภาพ
ท้องถิ่นกระจายให้ครอบคลุมทั้งประเทศ โดยเกษตรกร
เป็นผู้ ผลิ ตพันธุ์พืช ที่รับมาจากภาครัฐ และจาหน่าย
คืนกลับให้หน่วยงานภาครัฐเป็นผู้ดาเนินการปรับปรุง
สภาพพั น ธุ์ พื ช และตรวจสอบคุ ณ ภาพมาตรฐาน
ก่ อ นจ าหน่ ายให้ กั บเกษตรกรรายย่ อยทั่ วไปในราคา
ทีเ่ หมาะสม
- ภาครัฐจัดหลักสูตรฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ในการขยาย
และเก็บรักษาพันธุ์
ข้อกังวล ข้อเท็จจริง แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
๔. เกษตรกรที่มีวิถีเก็บ/ขยายพันธุ์พื้นเมืองเอง เกรงว่า ๑. มาตรา ๕ (๑) ระบุพันธุ์พืชที่จะได้รับสิทธิคุ้มครอง - รั ฐ บาลตั้ ง เป้ า หมายการขึ้ น บั ญ ชี พั น ธุ์ พื ช ท้ อ งถิ่ น
อาจมี ก ารผสมข้ า มกั บ พั น ธุ์ ก ารค้ า ซึ่ ง อาจเกิ ด การ เมื่อ ๑) เป็นพันธุ์ใหม่ ๒) แตกต่างจากพันธุ์อื่น ให้ อ ยู่ ใ นระบบฐานข้ อ มู ล ที่ ส ามารถตรวจสอบได้
ละเมิดสิทธิโดยไม่ได้ตั้งใจ ๓) มีความสม่าเสมอ ๔) มีความคงตัว อย่างชัดเจน เป็นวาระสาคัญ
๒. มาตรา ๑๔ (๕) ระบุพันธุ์ที่ไ ด้มาจากพันธุกรรม
สาคัญของพืชอื่น และพันธุ์บางประเภท ข้อกาหนด
ในวรรค (๑) ถึง (๔) ให้นามาใช้กับกรณีต่อไปนี้ด้วย
๒.๑ พันธุ์ที่ได้จากพันธุกรรมสาคัญของพันธุ์คุ้มครอง
๒.๒ พันธุ์ที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างจากพันธุ์
คุ้มครองได้อย่างชัดเจนตามมาตรา ๑ และ
๒.๓ พั นธุ์ ที่ จาเป็ นต้ องใช้ พั นธุ์ คุ้มครองในการผลิ ต
ทุกครั้ง
๓. ฐานข้ อ มู ล ด้ า นพั น ธุ์ พื ช พื้ น เมื อ งของไทย ยั ง ไม่

๑๐๖
ครอบคลุม เป็นระบบ และไม่สามารถเข้าถึงได้ง่าย
๕. การนาพันธุ์พื้นเมืองไปขึ้นทะเบียน โดยไม่ได้ ผ่าน - เกษตรกรที่เกี่ยวของ เช่น ผู้ปลูกสมุนไพร - รั ฐ บาลตั้ ง เป้ า หมายการขึ้ น บั ญ ชี พั น ธุ์ พื ช ท้ อ งถิ่ น
กระบวนการปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ท าให้ เ กิ ด การผู ก ขาด - มาตรา ๕ (๑) ระบุพันธุ์พืช ที่จะได้รับสิ ทธิคุ้มครอง ให้ อ ยู่ ใ นระบบฐานข้ อ มู ล ที่ ส ามารถตรวจสอบได้
เกษตรกรไม่สามารถใช้พันธุ์พื้นเมืองได้ เมื่อ อย่ างชัด เจน เป็ นวาระส าคั ญ เพื่อ คุ้ม ครองพัน ธุ์พื ช
๑) เป็นพันธุ์ใหม่ ๒) แตกต่างจากพันธุ์อื่น พื้นเมืองที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรม
๓) มีความสม่าเสมอ และ ๔) มีความคงตัว
- ฐานข้ อมู ล ด้ า นพั น ธุ์ พื ช พื้ น เมื องของไทย ยั งไม่
ครอบคลุมทุกชนิดพืช และยังไม่เป็นระบบที่สามารถ
เข้าถึงได้ง่าย
- มาตรา ๒๑ การเป็นโฆษะของสิทธินักปรับปรุงพันธุ์
กรณีที่พันธุ์พืชใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไม่มีคุณสมบัติ
ความใหม่และความแตกต่าง
ข้อกังวล ข้อเท็จจริง แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
๖. เมล็ดพันธุ์พืชอาจถูกผูกขาดโดย บริ ษัทยาวนานขึ้น ระบบการขยายพัน ธุ์ พื ชของรั ฐบาลเพื่อเกษตรกร เพื่ อ การส่ ง เสริ ม ความมั่ น คงด้ า นอาหาร และหลั ก
และราคาเมล็ดพันธุ์จะสูงขึ้น รายย่อยยังไม่เป็นระบบ และเป็นที่พึ่งของเกษตรกร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รัฐบาลควรมีนโยบาย
รายย่อยไม่ได้ สนับสนุนการดาเนินงานของภาครัฐและเอกชน ดังนี้
- ตั้งเป้าหมายสนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวของ ได้แก่
กรมวิ ช าการเกษตร กรมส่ ง เสริ ม การเกษตร หรื อ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวิจัย รวบรวม พัฒนา
รั ก ษา และกระจายพั น ธุ์ พื ช ลู ก ผสมเปิ ด พื้ น เมื อ ง
คุณภาพดี แก่เกษตรกร
- กรมวิชาการเกษตรและกรมส่งเสริมการเกษตรจัดตั้ง
หน่ ว ยงานขยายพั น ธุ์ พื ช (โดยเพาะพื ช ไร่ และผั ก )
เพื่อให้เป็นแหล่งพันธุ์ดีแก่เกษตรกรรายย่อยอย่างเป็น
ระบบ โดยให้กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช กรมวิชาการ

๑๐๗
เกษตร เป็นหน่วยงานหลักในการศึกษาวิจัย ปรับปรุง
พันธุ์ และผลิ ตเมล็ ดพั นธุ์ชั้นพันธุ์คัด พันธุ์ห ลั ก และ
พันธุ์ขยาย จากนั้นให้กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริม
การเกษตร ดาเนินการผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จาหน่าย
แก่เกษตรกร โดยการสร้างเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิต
เมล็ดพันธุ์พืชชุมชน (ทั้งนี้ ทั้ง ๒ หน่วยงานขณะนี้ได้
ตั้งขึ้นเป็นหน่วยงานภายในแล้ว)
๗. เกษตรกรบางรายสามารถพัฒนาพันธุ์พืชได้เอง แต่ - ภาครัฐร่วมกับภาคเอกชน สนับสนุนให้ความรู้ในการ
ยังขาดความรู้ที่ทันสมัย และกระบวนการขอรับการ พัฒนาพันธุ์พืชแก่เกษตรกรอย่างเป็นระบบ
คุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ยุ่งยาก ทาให้ความสามารถในการ - ภาครัฐปรับปรุงระเบียบและกระบวนการในการขอรับ
แข่งขันของประเทศลดลง การคุ้มครองพันธุ์ใหม่ให้สะดวกมากขึ้น
ข้อกังวล ข้อเท็จจริง แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
๘. เกษตรกรรายย่อยที่ปลูกพืชบางชนิดมีการพัฒนา มาตรา ๑๔ (๒) เกี่ยวกับสิ่งที่เก็บเกี่ยวได้ รวมถึงพืชทั้ง ภาครัฐดาเนินการ หรือส่ งเสริมภาคเอกชนการพัฒนา
พั น ธุ์ จ ากต่ า งประเทศ และภาครั ฐ หรื อ เอกชนไม่ ต้น และส่วนของพืช ที่ได้จากการใช้ชิ้นส่วนขยายพันธุ์ การจ าหน่ า ยพั น ธุ์ พื ช เฉพาะซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารช าระ
สามารถพั ฒ นาพั น ธุ์ ไ ด้ เ อง (เช่ น ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ของพั น ธุ์ คุ้ ม ครอง โดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ าต จะต้ อ งขอ ค่าลิขสิทธิ์พนั ธุ์ และจาหน่ายให้เกษตรกรต่อไป
ต่างประเทศ และผักบางชนิด) ปกติเกษตรกรรายย่อย อนุญาตจากนักปรับปรุงพันธุ์
มักจะขยายพันธุ์ในพื้นที่ตนเอง เกษตรกรจะถูกข้อหา
ละเมิด ได้ หากจ าหน่ ายผลผลิ ตในตลาดในประเทศ
หรือต่างประเทศ

๑๐๘
ภาคผนวก จ
สถานการณ์/การปฏิบัต/ิ คาดการณ์ผลกระทบของที่ปรึกษา
คณะอนุกรรมาธิการจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และข้อกังวลของเกษตรกรที่ผลิตพืชชนิด/กลุ่มต่าง ๆ
ต่อการเข้าร่วมอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พชื ใหม่
(UPOV 1991)
๑๑๐

ภาคผนวก จ
สถานการณ์/การปฏิบัติ/คาดการณ์ผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และข้อกังวลของเกษตรกรที่ผลิตพืชชนิด/กลุ่มต่าง ๆ ต่อการเข้าร่วมอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV 1991)

คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
ทั่วไป เกษตรกรยั ง ขาดความรู้ แ ละความเข้ า ใจ ขาดความพร้อม
เกี่ยวกับการเข้าร่วมความตกลง CPTPP และ
การเป็ น ภาคี อ นุ สั ญ ญา UPOV 1991 และ
ผลกระทบที่จะเกิด
พืชไร่
๑. ข้าว - งานด้านการวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ข้าว - มี โ อกาสเกิ ด ผลกระทบเชิ ง ลบ - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/ - ข้าวพันธุ์ พื้นเมืองจะหายไป
ส่วนใหญ่ดาเนินการโดยหน่วยงานของรัฐและ ค่ อ นข้ า งน้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ข้ า ว นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย เนื่องจากเกษตรกรนิยมปลูก
มหาวิทยาลั ย มีเอกชนและนักปรับปรุงพันธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ เ พาะปลู ก ส่ ว นใหญ่ ลงทุน วิจัยพัฒ นาพันธุ์ข้าว เกิด พันธุ์ใหม่
รายย่อยบ้าง แต่จานวนไม่มากนัก เป็นพันธุ์ของทางราชการ/มหาวิทยาลัย การแข่งขันด้ านการวิ จัยพั ฒ นา - อาจเกิดการผสมข้ามแปลง
- พันธุ์การค้าส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ผสม - ตลาดเมล็ดพันธุ์ข้าวอาจมีการแข่งขัน พันธุ์ข้าวมากขึ้น ระหว่ างข้ าวพั นธุ์ ใหม่ ที่ ได้ รั บ
- พันธุ์ที่เกษตรใช้เพาะปลูกส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ ที่สูงขึ้น เนื่องจากเอกชนสนใจเข้ามา - มีข้าวพันธุ์ใหม่ออกสู่ตลาดมาก ความคุ้ มครองกั บข้ า วพั น ธุ์
การค้าและพันธุ์ที่ทางราชการแนะนา ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์ ขึ้น พื้ น เมื อ ง ท าให้ เ กษตรกร
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ นิยมเก็บเมล็ ดพั นธุ์ไ ว้ - เกษตรกรจะเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า ว - เกษตรกรมี ตั ว เลื อ กซื้ อ พั น ธุ์ ถูกฟ้องร้องจากเจ้าของพันธุ์
ปลูกต่อเองเพื่อลดต้นทุนการผลิต เนื่องจาก พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ข้าวมากขึ้นในราคาที่เหมาะสม - ราคาเมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า วจะ
เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี หากมีการควบคุม ปลู ก ต่ อ และเก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต สูงขึ้น
คุ ณ ภาพทุ ก ขั้ น ตอนในกระบวนการผลิ ต (grain) ได้ ก็ต่อเมื่อกระทรวงเกษตร - วั ฒนธรรมการแลกเปลี่ ยน
จะสามารถนาไปเพาะปลูกต่อได้ ๑ - ๒ ฤดูปลูก แ ล ะ ส ห ก ร ณ์ ( ก ษ . ) ต้ อ ง อ อ ก เมล็ดพันธุ์ข้าวจะถูกทาลาย
- ราคาจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวของกรมการข้าว กฎหมายอนุญาตให้เกษตรกรเก็บเมล็ด - ต่างชาตินาพันธุ์ข้าวไปจด
กาหนดโดยคณะกรรมการบริหารเงินทุนหมุนเวียน พันธุ์ข้าวพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครอง ทะเบียน
เพื่อผลิตและขยายพันธุ์พืช
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- กรมการข้า วจ าหน่ ายเมล็ ดพั นธุ์ข้ าวผ่ า น ไว้ ปลู กต่ อบนพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ของ - เกษตรกรจะถูกฟ้อง เพราะมี
ช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ (๑) เกษตรกรผู้ จัดทา ตนเอง ก า ร ป ลู ก ข้ า ว เ วี ย ด น า ม
แปลงขยายพันธุ์ข้าว (๒) หน่วยงานราชการ นอกจากนี้ เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกร อยู่ในพื้นที่
ผ่ า น โครงการส่ ง เสริ ม การเกษตรต่ า ง ๆ เก็บไว้เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะ
(๓) เกษตรกรทั่วไป (๔) ตัวแทนจาหน่ายเมล็ด ไม่สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้
พันธุ์ข้าวของกรมการข้าว หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้
- ปัญหาเกี่ยวกับเมล็ดพันธุ์ข้าว ได้แก่ เมล็ด - ราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
พันธุ์ข้าวคุณภาพดีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าเมล็ด
ของเกษตรกร เนื่ องจากการเปลี่ ยนแปลงของ พันธุ์ข้าวทั่วไป

๑๑๑
สถานการณ์ตลาด ทาให้เกษตรกรเปลี่ยนพันธุ์
ปลูกอย่างรวดเร็ว
- การนาพันธุ์ข้าวจากต่างประเทศเข้ามาปลูก
ในประเทศในปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ ส ามารถท าได้
เนื่องจากมีกฎหมายควบคุมไม่ให้นาเข้าและ
ส่งออกเมล็ดพันธุ์ข้าว
- เกษตรกรเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ไ ว้ ป ลู ก ต่ อ เอง
ประมาณร้ อยละ ๕๐ ซื้ อ เมล็ ด พัน ธุ์ เพื่ อ ใช้
เพาะปลูก ร้อยละ ๕๐
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก ข้ า ว
๔,๖๓๖,๐๖๐ ครั ว เรือน คิดเป็น พื้นที่ปลู ก
รวม ๖๖,๕๑๑,๒๐๐ ไร่
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ คือ ๑,๒๘๖,๗๖๖
ครั วเรื อน (๒๙%) มี พื้ นที่ ปลู ก ๕ - ๑๐ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๔ ไร่
๒. มัน - งานด้ า นการวิ จั ย พั ฒ นาพั น ธุ์ ด าเนิ น การ - โอกาสเกิ ดผลกระทบเชิ งลบค่ อนข้ าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
สาปะหลัง โดยหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย และเอกชน น้ อย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย
อ้อยโรงงาน (อ้อย) เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
- พันธุ์ที่ใช้เพาะปลูกส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ของ และพันธุ์ของทางราชการ/มหาวิทยาลัย - มี พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น
ทางราชการ - เกษตรกรจะเก็ บ ส่ ว นขยายพั น ธุ์ (ทนทานต่ อ โรคและแมลง/

๑๑๒
- เกษตรกรนิยมเก็บท่อนพันธุ์ไว้ปลูกต่อ ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น)
- มันสาปะหลัง ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูก ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวผลผลิตขายได้ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
ต่อของเกษตรกรรายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ก็ต่อเมื่อ กษ. ต้องออกกฎหมายอนุญาต พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
๘๐ และ ๗๐ ตามลาดับ ให้ เกษตรกรเก็ บส่ วนขยายพั นธุ์ ข อง
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก มั น พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้
ส าปะหลั ง ๕๓๗,๙๓๗ ครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง
พื้นที่ปลูกรวม ๘,๖๖๖,๕๙๖ ไร่ ท่อนพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลูก
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๑๖๙,๑๑๑ ต่ อ เองดั ง กล่ า ว อาจจะไม่ ส ามารถ
ครัวเรือน (๓๐%) มีพื้นที่ปลูก ๕ - ๑๐ ไร่ นาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ หากกฎหมาย
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๖ ไร่ ไม่อนุญาตให้ทาได้
- อ้อยโรงงาน ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อ - ราคาท่อนพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
ของเกษตรกรรายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์
๘๐ และ ๙๐ ตามลาดับ ทั่วไป
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู กอ้ อ ย
โรงงาน ๔๒๗,๕๘๘ ราย คิดเป็นพื้นที่ปลู ก
รวม ๑๑,๙๕๗,๒๐๑ ไร่
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๘๘,๙๖๘
ครั วเรื อน (๒๙%) มี พื้ น ที่ ป ลู ก ๕ - ๑๐ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อราย อยู่ที่ ๒๘ ไร่
๓. ข้าวโพด - งานด้ า นการวิ จั ย พั ฒ นาพั น ธุ์ ด าเนิ น การ - ตลาดเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มี - จะมี เ มล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ - ปั ญหาการผสมข้ ามแปลง
เลี้ยงสัตว์ โดย ภาคเอกชน (พันธุ์ลูกผสม) มหาวิทยาลัย/ การแข่งขันที่สูงขึ้น เพิ่ ม ขึ้ น (ทนทานต่ อ โรคและ ระหว่างพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความ

๑๑๓
หน่วยงานรัฐ (พันธุ์ผสมเปิด/พันธุ์ลูกผสม) - เกษตรกรจะเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด แมลง/ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น) คุ้มครองกับพันธุ์พื้นเมือง ทาให้
- พั น ธุ์ ก ารค้ า ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น พั น ธุ์ ลู ก ผสม พันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูก - มี ก ารแข่ ง ขั น วิ จั ย พั ฒ นาใน เกษตรกรถู ก ฟ้ อ งร้ อ งจาก
(F1/Hybrid) ต่ อ และเก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต ได้ ก็ ตลาดเมล็ดพันธุ์มากยิ่งขึ้น ลดการ เจ้าของพันธุ์
- เกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์การค้า ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ ต่อเมื่อ กษ. ต้องออกกฎหมายอนุญาต ผู กขาดที่เกษตรกรต้องซื้ อเมล็ ด - พั น ธุ์ พื้ น เมื อ งจะหายไป
เป็ น พั น ธุ์ ลู ก ผสม เกษตรกรจึ ง ไม่ นิ ย มเก็ บ ให้ เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด พันธุ์เฉพาะของบริษัทรายใหญ่ เนื่องจากเกษตรกรนิยมปลูก
เมล็ ดพัน ธุ์ไว้ป ลู กต่อ เพราะผลผลิ ตที่ได้จะ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ - ลดปัญหาการขโมยพันธุ์ และ พันธุ์ใหม่
ลดลงมาก ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง ปัญหาเมล็ดพันธุ์ปลอม - จะมีการบุกรุกถางป่าเผาป่า
- พันธุ์ของหน่วยงานรัฐ/มหาวิทยาลัย มีทั้ง นอกจากนี้ เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกร - เกษตรกรจะมีตัว เลื อกเมล็ ด เพื่อปลูกข้าวโพดมากขึ้น
พันธุ์ผสมเปิด (OP) และพันธุ์ลูกผสม เกษตรกร เก็บไว้เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะ พันธุ์ใหม่ ๆ ให้เลือกซื้อ ในราคา - ราคาเมล็ดพันธุ์จะสูงขึ้น
จะเก็บเมล็ดพันธุ์เฉพาะที่เป็นพันธุ์ผสมเปิด ไม่สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ ที่เหมาะสม
- เกษตรกรไม่นิยมเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกต่อ หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้ - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
ร้อยละ ๑๐๐ ของเกษตรกรทั้งรายย่อยและ ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
รายใหญ่ ซื้อเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้เพาะปลูก ประเทศไทย
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด - ราคาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดพันธุ์ใหม่ที่
เลี้ยงสัตว์ ๔๒๕,๒๘๑ ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง
ปลูกรวม ๖,๕๓๓,๙๗๑ ไร่ กว่าเมล็ดพันธุ์ทั่วไป
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๑๐๑,๗๖๑
ครั วเรื อน (๒๖%) มีพื้ น ที่ ป ลู ก ๕ - ๑๐ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๕ ไร่
๔. ถั่วเขียว - งานด้านการวิจัยพัฒนาพันธุ์ดาเนินการโดย - มีโอกาสเกิดผลกระทบเชิงลบน้อย - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
ถั่วเหลือง หน่วยงานรัฐ และมหาวิทยาลัย เนื่องจากพันธุ์ที่เกษตรกรใช้เพาะปลูก นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย

๑๑๔
ถั่วลิสง - พัน ธุ์ ที่ใช้เพาะปลู ก ส่ ว นใหญ่เป็นพั นธุ์แท้ ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ของทางราชการ/ ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
เกษตรกรจึงเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกต่อได้โดยที่ มหาวิทยาลัย - มี เ ม ล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภ า พ
ผลผลิตลดลงหรือเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก - เกษตรกรจะเก็บเมล็ ดพัน ธุ์ใหม่ ที่ เพิ่ ม ขึ้ น (ทนทานต่ อ โรคและ
- ปัญหาของการเก็บเมล็ดพันธุ์พืชกลุ่มถั่ว คือ ได้ รับ ความคุ้ มครองไว้ ปลู กต่ อและ แมลง/ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น)
อายุการเก็บจะสั้น เนื่องจากเป็นพืชน้ามัน เก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต ขายได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
- ภาคเอกชนไม่ ส นใจลงทุ น ด้ า นการวิ จั ย กษ. ต้ อ งออกกฎหมายอนุ ญ าตให้ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
พัฒนาพันธุ์ เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
- ร้อยละการเก็บเมล็ดพันธุ์ถั่วทั้งสามไว้ปลูกต่อ ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ บนพื้ น ที่
ของเกษตรกรรายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๒๐ เพาะปลูกของตนเอง
และ ๑๐ ตามลาดับ เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรเก็ บ ไว้
ถั่วเขียว เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้
๓๓,๖๖๓ ครั ว เรื อน คิดเป็น พื้นที่ ปลู ก รวม หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้
๘๐๓,๕๒๒ ไร่
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๙,๐๙๑
ครัวเรือน (๒๗%) มีพื้นที่ปลูก ๕ - ๑๐ ไร่
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๒๓ ไร่
ถั่วเหลือง
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก
๒๗,๒๕๗ครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ป ลู ก รวม
๑๔๗,๓๖๖ ไร่
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๕,๙๓๙
ครั ว เรื อ น (๕๓%) มี พื้ น ที่ ป ลู ก น้ อ ยหรื อ
เท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๕ ไร่

๑๑๕
ถั่วลิสง
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก
๑๐,๔๓๔ ครั ว เรื อน คิดเป็น พื้นที่ ปลู ก รวม
๙๓,๒๘๕ ไร่
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๘,๙๘๒
ครั ว เรื อ น (๘๖%) มี พื้ น ที่ ป ลู ก น้ อ ยหรื อ
เท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๙ ไร่
๕. สับปะรด - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้หน่อพันธุ์ที่มีอยู่เดิม - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
โรงงาน ในพื้นที่ และหน่อพันธุ์จากหน่วยงานราชการ น้ อย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย
กรณี ที่ เ ป็ น พั น ธุ์ ใ หม่ เช่ น สั บ ปะรดฉี ก ตา เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
พันธุ์เพชรบุรี ๑ และพันธุ์เพชรบุรี ๒ และพันธุ์ของทางราชการ/มหาวิทยาลัย - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ - เกษตรกรจะเก็ บ ส่ ว นขยายพั น ธุ์ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
โดยหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย เอกชน และ ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวผลผลิตขายได้
- ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร ก็ต่อเมื่อ กษ. ต้องออกกฎหมายอนุญาต
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๙๕ ให้เกษตรกรเก็บส่วนขยายพันธุ์ของ
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้
สับปะรดโรงงาน ๓๕,๓๓๒ ครัวเรือน คิดเป็น ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง
พื้นที่ปลูกรวม ๔๖๖,๔๙๗ ไร่ หน่อพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลูกเอง
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๘,๕๗๑ ดังกล่าว อาจจะไม่สามารถนาไปแบ่งปัน

๑๑๖
ครัวเรือน (๔๒%) มีพื้นที่ปลูกน้ อยกว่าหรือ เพื่อนบ้านได้ หากกฎหมายไม่อนุญาต
เท่ากับ ๕ ไร่ ให้ทาได้
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๓ ไร่ - ราคาหน่อพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์
ทั่วไป
ไม้ยืนต้นอุตสาหกรรม
๑. ยางพารา - เกษตรกรส่ ว นใหญ่ พั น ธุ์ ที่ ใ ช้ เ ป็ น พั น ธุ์ - โ อกาสเกิ ด ผลกระทบเชิ ง ลบ - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
จากภาคเอกชน (กิ่ ง พั น ธุ์ ) และใช้ พั น ธุ์ ค่ อ นข้ า งน้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย
จากหน่วยงานราชการเพื่อเป็นตาพันธุ์ดี เกษตรกรใช้เพาะปลูกส่วนใหญ่เป็น ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ ดาเนินการ พั น ธุ์ ดั้ ง เ ดิ ม แ ล ะ พั น ธุ์ ข อ ง ท า ง - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
โดยหน่วยงานรัฐ มหาวิทยาลัย เอกชน และ ราชการ/มหาวิทยาลัย - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
เกษตรกรรายย่อย - ส าหรั บ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
คุ้ม ครอง เกษตรกรไม่ ส ามารถเก็ บ
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- เกษตรกรไม่ นิ ย มเก็ บ พั น ธุ์ ไ ว้ ป ลู ก ต่ อ พันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อ
ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร บนพื้นที่ เพาะปลู กของตนเอง และ
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๐ เก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก - ราคาต้ น /กิ่ ง พั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่
ยางพารา ๑,๕๐๘,๐๕๑ ครัวเรือน คิดเป็น ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง
พื้นที่ปลูกรวม ๒๒,๕๓๐,๕๐๓ ไร่ กว่าพันธุ์ทั่วไป
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๒๗๑,๒๐๒
ครั ว เรื อ น (๒๗%) มี พื้ นที่ ปลู ก ๕ - ๑๐ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)

๑๑๗
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๕ ไร่
๒. ปาล์มน้ามัน - เกษตรกรใช้ต้นกล้าที่ผ่านการรับรองแปลง - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
เพาะกล้าจากกรมวิชาการเกษตร หรือจากบริษัท น้ อ ย เนื่ องจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย
ทีไ่ ด้รับการรับรองจากกรมวิชาการเกษตร เพาะปลูกเป็นพันธุ์ลูกผสม (เทเนอรา) ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
- งานวิ จั ย พั ฒ นาปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ด าเนิ น การ - ราคาต้นพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
โดยหน่วยงานรัฐ และเอกชน ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
- เกษตรกรไม่นิย มเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อเนื่อง ทั่วไป พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
จากพันธุ์ที่ปลูกเป็นพันธุ์ลูกผสม (เทเนอรา)
ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๐
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์ม
น้ ามั น ๓๔๗,๖๓๖ ครัว เรือน คิด เป็น พื้น ที่
ปลูกรวม ๖,๐๐๒,๔๐๐ ไร่
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๙๒,๘๓๖
ครัวเรือน มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕
ไร่ (ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๑๗ ไร่
๓. มะพร้าวแกง - เกษตรกรส่ ว นใหญ่ใ ช้พั น ธุ์พื้ นเมื อง และ - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
/มะพร้าวอ่อน พันธุ์จากหน่วยราชการ น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย
- งานวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการโดย เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
หน่วยงานรัฐ และพันธุ์ของทางราชการ - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
- ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร - สาหรับพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครอง - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้

๑๑๘
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๑๐๐ และ ๗๐ เกษตรกรไม่ ส ามารถเก็ บ พั น ธุ์ ใ หม่ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
ตามลาดับ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าว บนพื้นที่ เพาะปลู กของตนเอง และ
๑๖๓,๕๕๙ ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม เก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ หากรัฐไม่ออก
๘๔๗,๘๘๑ ไร่ กฎหมายอนุญาตให้ทาได้
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๗๔,๐๖๓
ครัวเรือน (๗๐%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ทบก.)
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๕ ไร่
๔. กาแฟ - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ท้องถิ่น และพันธุ์ - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
จากหน่วยงานราชการ น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
โดยหน่วยงานรัฐ และเอกชน และพันธุ์ของทางราชการ - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร - ส าหรั บ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๑๐๐ และ ๘๐ คุ้ม ครอง เกษตรกรไม่ ส ามารถเก็ บ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
ตามลาดับ ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟ ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ บนพื้ น ที่
๒๗,๕๕๔ ครั ว เรื อน คิดเป็ นพื้นที่ป ลู กรวม เพาะปลูกของตนเอง และเก็บเกี่ยว
๒๔๘,๘๘๒ ไร่ ขายผลผลิตได้ หากรัฐไม่ออกกฎหมาย
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๙,๔๗๑ อนุญาตให้ทาได้
ครัวเรือน (๔๙%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ทบก.)

๑๑๙
- ค่าเฉลี่ยพื้นที่ปลูกต่อครัวเรือน อยู่ที่ ๙ ไร่
๕. ชา - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ท้องถิ่น และพันธุ์ - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
จากหน่วยงานราชการ น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
โดยหน่วยงานรัฐ และพันธุ์ของทางราชการ - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
- ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร - ส าหรั บ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๑๐๐ และ ๘๐ คุ้มครอง เกษตรกรไม่สามารถเก็บส่วน พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
ตามลาดับ ขยายพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความ
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก ชา คุ้มครองไว้ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูก
๓,๓๗๖ ครั ว เรื อ น คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ป ลู ก รวม ของตนเอง และเก็บเกี่ยวขายผลผลิ ต
๑๒๙,๕๖๖ ไร่ ได้ หากรัฐไม่ออกกฎหมายอนุญาตให้
ทาได้
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- โดยเกษตรกรส่ ว นใหญ่ คื อ ๑,๗๒๘
ครัวเรือน (๕๑%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือ
เท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ทบก.)
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ต่ อ ครั ว เรื อ น อยู่ ที่
๓๘.๓๘ ไร่
พืชสวน: ไม้ผล
๑. ลาไย - เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ป ลู ก พั น ธุ์ ดั้ ง เดิ ม และ - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
ทุเรียน มะม่วง พันธุ์ทั่วไป น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น

๑๒๐
โดยหน่ ว ยงานรั ฐ เกษตรกรรายย่ อ ย และ และพันธุ์ของทางราชการ - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
มหาวิทยาลัย - ส าหรั บ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
- เกษตรกรไม่ นิ ย มเก็ บ พั น ธุ์ ไ ว้ ป ลู ก ต่ อ คุ้ม ครอง เกษตรกรไม่ ส ามารถเก็ บ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
ร้อยละการเก็บพันธุ์ไว้ปลูกต่อของเกษตรกร ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
รายย่อยและรายใหญ่ เท่ากับ ๐ ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ บนพื้ น ที่
ลาไย เพาะปลูกของตนเอง และเก็บเกี่ยว
- ปี ๒๕๖๒ มีจ านวนเกษตรกรผู้ปลู กล าไย ขายผลผลิตได้ หากรัฐไม่ออกกฎหมาย
ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๑๒๘,๐๙๙ ครัวเรือน อนุญาตให้ทาได้
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๘๗๑,๗๑๖ ไร่
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๗๙,๑๒๘ ครั ว เรื อ น
(๖๒%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๖.๘ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
ทุเรียน
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูก ทุเรียน
ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๑๒๐,๖๕๙ ครัวเรือน
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๘๓๕,๑๑๖ ไร่
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๗๔,๕๓๙ ครั ว เรื อ น
(๖๒%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)

๑๒๑
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๖.๙ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
มะม่วง
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูก มะม่วง
ขึ้น ทะเบี ย นเกษตรกร ๗๓,๕๕๒ ครัว เรือน
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๔๖๑,๑๘๔ ไร่
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๕๑,๒๘๙ ครั ว เรื อ น
(๗๐%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๖.๓ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
พืชสวน: ผัก
๑. ผักทั่วไป - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ทั้งบริษัทเอกชน - ตลาดเมล็ดพันธุ์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น - จะมี เ มล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ - เกษตรกรรายย่อยยังขาด
และบางส่วนใช้พันธุ์จากหน่วยงานราชการ - เกษตรกรจะเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ข อง เพิ่มขึ้น (ทนทานต่อโรคและแมลง/ ความรู้ในการคัดเลื อกพันธุ์
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ผลผลิตสูง/ตรงตามความต้องการ กา ร เ ก็ บ เ มล็ ด พั น ธุ์ ห รื อ
โดยภาคเอกชนเป็นหลัก และมีมหาวิทยาลัย ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ ของตลาด) ขยายพันธุ์ เพื่อให้รักษาพันธุ์
และหน่วยงานรัฐ ก็ต่อเมื่อ กษ. ต้องออกกฎหมายอนุญาต - มี ก ารแข่ ง ขั น วิ จั ย พั ฒ นาใน ดีได้ อย่างยั่งยืน
- พันธุ์การค้ามีทั้งพันธุ์ลูกผสมและพันธุ์แท้/ ให้ เกษตรกรเก็ บเมล็ ดพั นธุ์ ของ ตลาดเมล็ดพันธุ์มากยิ่งขึ้น ลดการ - เกษตรกรรายย่อยอาจถูก
พันธุ์ผสมเปิด พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ คว ามคุ้ ม ครอง ผูกขาดที่เกษตรกรต้องซื้อเมล็ ด กล่าวหาว่าละเมิดสิทธิหาก
- พันธุ์ลูกผสมเกษตรกรไม่นิยมเก็บเมล็ดพันธุ์ ไว้ ป ลู ก ต่ อ บนพื้ น ที่ เ พาะปลู ก ของ พันธุ์เฉพาะของบริษัทรายใหญ่ ขยายพันธุ์เอง

๑๒๒
ไว้ปลูกต่อ ตนเอง - ลดปัญหาการขโมยพันธุ์ และ
- เกษตรรายย่อยนิยมเก็บ/ขยายพันธุ์เอง เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรเก็ บ ไว้ ปัญหาเมล็ดพันธุ์ปลอม
เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่ - เกษตรกรจะมีตัว เลือกเมล็ ด
สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ พัน ธุ์ ใ หม่ ให้ เ ลื อ กซื้ อ ในราคา
หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้ ที่เหมาะสม
- ราคาเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง กว่ า ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
เมล็ดพันธุ์ทั่วไป ประเทศไทย
๒. พริก - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ทั้งบริษัทเอกชน - ตลาดเมล็ ด พั น ธุ์ มี ก ารแข่ ง ขั น ที่ - จะมี เ มล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ
และบางส่วนใช้พันธุ์จากหน่วยงานราชการ สูงขึ้น เพิ่มขึ้น (ทนทานต่อโรคและแมลง/
- พันธุ์การค้ามีทั้งพันธุ์ลูกผสมและพันธุ์แท้/ - เกษตรกรจะเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ข อง ผลผลิตสูง/ตรงตามความต้องการ
พันธุ์ผสมเปิด พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ของตลาด)
ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- พันธุ์ลูกผสมเกษตรกรไม่นิยมเก็บเมล็ดพันธุ์ ก็ ต่ อ เมื่ อ กษ. ต้ อ งออกกฎหมาย - มี ก ารแข่ ง ขั น วิ จั ย พั ฒ นาใน
ไว้ปลูกต่อ อนุญาตให้ เกษตรกรเก็บเมล็ ดพัน ธุ์ ตลาดเมล็ดพันธุ์มากยิ่งขึ้น ลดการ
- ในตลาดมี พั น ธุ์ ห ลากหลายให้ เ กษตรกร ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ ผูกขาดที่เกษตรกรต้องซื้อเมล็ด
เลือกซื้อ ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง พันธุ์เฉพาะของบริษัทรายใหญ่
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ดาเนินการ เ ม ล็ ด พั น ธุ์ ที่ เ ก ษ ต ร ก ร เ ก็ บ ไ ว้ - ลดปัญหาการขโมยพันธุ์ และ
โดยภาคเอกชน มหาวิทยาลัย และหน่วยงานรัฐ เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่ ปัญหาเมล็ดพันธุ์ปลอม
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก พริ ก สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ - เกษตรกรจะมีตัว เลือกเมล็ ด
ขึ้น ทะเบี ย นเกษตรกร ๓๒,๘๓๗ ครัว เรือน หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้ พัน ธุ์ ใ หม่ ให้ เ ลื อ กซื้ อ ในราคา
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๙๐,๔๙๑ ไร่ - ราคาเมล็ ด พั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ที่เหมาะสม

๑๒๓
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๒๙,๔๑๔ ครั ว เรื อ น ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง
(๙๐%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่ กว่าเมล็ดพันธุ์ทั่วไป
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๒.๘ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
๓. กระเทียม - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ท้องถิ่นและพันธุ์ - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
หอมแดง การค้าที่มีการนาเข้ามา น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย
- งานด้านวิจัยพัฒนาปรับปรุงพันธุ์มีไม่มากนัก เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
ดาเนินการโดยหน่วยงานรัฐ/มหาวิทยาลัย พันธุ์เก่า - มีพันธุ์ดีที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
- เกษตรรายย่อยนิยมเก็บ/ขยายพันธุ์เอง
- ประสบปัญหาเรื่องความหลากหลายของ - ส าหรั บ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
พันธุ์มีน้อย คุ้ม ครอง เกษตรกรไม่ ส ามารถเก็ บ พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
ส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ บนพื้ น ที่
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- เกษตรกรเก็ บ และใช้ พั น ธุ์ เ ดิ ม เป็ น เวลา เพาะปลูกของตนเอง และเก็บเกี่ยว - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
หลายปี ติ ด ต่ อ กั น ท าให้ เ กิ ด โรคและผลิ ต ขายผลผลิตได้ หากรัฐไม่ออกกฎหมาย ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
คุณภาพลดลง อนุญาตให้ทาได้ ประเทศไทย
กระเทียม
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก
กระเทีย มขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๑๑,๖๓๖
ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๕๐,๑๔๐ ไร่
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๘,๙๔๒ ครั ว เรื อ น
(๗๗%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๔.๓ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น

๑๒๔
(ข้อมูล ทบก.)
หอมแดง
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก
หอมแดงขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๖,๒๔๗
ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๒๒,๒๐๘ ไร่
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๕,๒๐๗ ครั ว เรื อ น
(๘๓%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่
(ข้อมูล ทบก.)
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๓.๖ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
๔. มันฝรั่ง - เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์จากบริษัทเอกชน - ตลาดพันธุ์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น - จะมี พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพเพิ่ มขึ้ น
(ส่วนใหญ่) และบางส่วนใช้พันธุ์จากหน่วยงาน - เกษตรกรจะเก็บพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ (ทนทานต่อโรคและแมลง/ผลผลิต
ราชการ รวมทั้งเกษตรกรเก็บพันธุ์เอง ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อและ สู ง/ตรงตามความต้ องการของ
เก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ ตลาด)
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกมันฝรั่ง กษ. ต้ อ งออกกฎหมายอนุ ญ าตให้ จะมี พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพเพิ่ ม ขึ้ น
ขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๑,๘๐๘ ครั ว เรื อ น เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ (ทนทานต่ อ โรคและแมลง /
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๑๐,๓๔๖ ไร่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ป ลู ก ต่ อ ผลผลิ ต สู ง / ต รงตา มคว า ม
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๑,๐๘๔ ครั ว เรื อ น บนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง ต้องการของตลาด)
(๖๐%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรเก็ บ ไว้ - มี ก ารแข่ ง ขั น วิ จั ย พั ฒ นาใน
ไร่ (ข้อมูล ทบก.) เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่ ตลาดพั น ธุ์ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ลดการ
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๕.๗ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ ผูกขาดที่เกษตรกรต้องซื้อพันธุ์
(ข้อมูล ทบก.) หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้ เฉพาะของบริษัทรายใหญ่
- ราคาหัวพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ - ลดปัญหาการขโมยพันธุ์ และ

๑๒๕
ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง กว่ า ปัญหาพันธุ์ปลอม
หัวพันธุ์ทั่วไป - เกษตรกรจะมีตัวเลือกพันธุ์ใหม่
ให้เลือกซื้อ ในราคาที่เหมาะสม
- มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
ประเทศไทย
๕. หน่อไม้ฝรั่ง - เกษตรกรส่วนใหญ่มีการเก็บและขยายพันธุ์ - ตลาดเมล็ ด พั น ธุ์ มี ก ารแข่ ง ขั น ที่ - จะมี เ มล็ ด พั น ธุ์ ที่ มี คุ ณ ภาพ
เองจากพั น ธุ์ ตั้ ง ต้ น เดิ ม ที่ เ ป็ น พั น ธุ์ น าเข้ า สูงขึ้น เพิ่มขึ้น (ทนทานต่อโรคและแมลง/
จากต่างประเทศ - เกษตรกรจะเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ข อง ผลผลิตสูง/ตรงตามความต้องการ
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกหน่อไม้ฝรั่ง พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ของตลาด)
ขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๑,๕๙๒ ครั ว เรื อ น ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ - มี ก ารแข่ ง ขั น วิ จั ย พั ฒ นาใน
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๔,๔๐๔ ไร่ ก็ต่อเมื่อ กษ. ต้องออกกฎหมายอนุญาต ตลาดเมล็ ดพั นธุ์ มากยิ่ งขึ้ น ลด
ให้เกษตรกรเก็บเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ การผู กขาดที่ เกษตรกรต้ องซื้ อ
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๑,๔๕๗ ครั ว เรื อ น ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อ เมล็ ด พั น ธุ์ เ ฉพาะของบริ ษั ท
(๙๒%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่ บนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง รายใหญ่
(ข้อมูล ทบก.) เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรเก็ บ ไว้ - ลดปัญหาการขโมยพันธุ์ และ
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๒.๘ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น เพาะปลูกต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่ ปัญหาเมล็ดพันธุ์ปลอม
(ข้อมูล ทบก.) สามารถนาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ - เกษตรกรจะมี ตั วเลื อกเมล็ ด
หากกฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้ พั น ธุ์ ใ หม่ ใ ห้ เ ลื อกซื้ อ ในราคา
- ราคาเมล็ ด พั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ที่เหมาะสม
ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
กว่าเมล็ดพันธุ์ทั่วไป ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน

๑๒๖
ประเทศไทย
๖. หอมหัวใหญ่ - เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เ มล็ ด พั น ธุ์ น าเข้ า - ตลาดเมล็ ด พั น ธุ์ มี ก ารแข่ ง ขั น ที่ - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/
เกษตรกรไม่มีการเก็บเมล็ดพันธุ์เอง สูงขึ้น นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย
- ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ปลู ก - ราคาเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
หอมหั วใหญ่ ขึ้ นทะเบี ยนเกษตรกร ๑,๑๖๐ ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าเมล็ด - มีพันธุ์ดีที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๕,๓๔๑ ไร่ พันธุ์ทั่วไป - เกษตรกรมี ทางเลื อกในการ
- โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ คือ ๘๑๘ ครัวเรือน เลือกใช้พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
(๗๑%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่ - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
(ข้อมูล ทบก.) ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๔.๖ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น ประเทศไทย
(ข้อมูล ทบก.)
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
พืชสวน:
สมุนไพร
๑. สมุนไพร - เกษตรกรส่วนใหญ่มีการเก็บพันธุ์ไว้ใช้เอง - โอกาสเกิดผลกระทบทางลบค่อนข้าง - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/ - อาจมี การผสมข้ ามกั บพั นธุ์
แต่มีสมุนไพรบางชนิดที่ซื้อพันธุ์ปลูก น้ อ ย เนื่ อ งจากพั น ธุ์ ที่ เ กษตรกรใช้ นั ก ป รั บ ป รุ ง พั น ธุ์ ร า ย ย่ อ ย การค้า ซึ่งอาจเกิดการละเมิด
- พันธุ์ที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์พื้นเมือง เพาะปลู กส่ ว นใหญ่เป็นพันธุ์ดั้งเดิม ลงทุนวิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น สิทธิโดยไม่ได้ตั้งใจ
- การวิจัยพัฒนาพันธุ์ดาเนินการโดยหน่วยงาน และพันธุ์ของทางราชการ และงานวิจัย - มีพันธุ์ที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น - อาจมี การน าพั นธุ์ พื้นเมื อง
ราชการและมหาวิทยาลัย ด้วยการคัดเลือกพันธุ์ พัฒนาพันธุ์ดาเนินการโดยหน่วยงาน - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้ ไปขึ้นทะเบียน โดยไม่ได้ผ่าน
ของรัฐและมหาวิทยาลัย พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น กระบวนการปรับปรุงพันธุ์ ทาให้
- สาหรับพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครอง เกิ ดการผู กขาด เกษตรกรไม่

๑๒๗
เกษตรกรไม่สามารถเก็บส่วนขยายพันธุ์ สามารถใช้พันธุ์พื้นเมืองได้
ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้
ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง
และเก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ หากรัฐ
ไม่ออกกฎหมายอนุญาตให้ทาได้
- มีโอกาสที่ตลาดเมล็ดพันธุ์จะมีการ
แข่งขันที่สูงขึ้น
- ราคาเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง กว่ า
เมล็ดพันธุ์ทั่วไป
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
พืชสวน :
ไม้ดอก
ไม้ประดับ
๑. ไม้ดอก - เกษตรกรพัฒ นาพันธุ์เองและส่ งจาหน่าย - มีโอกาสที่ตลาดพันธุ์จะมีการแข่งขัน - เกษตรกรสามารถจดทะเบี ยน - กระบวนการขอคุ้ มครอง
เมืองร้อน : ต่างประเทศ ที่สูงขึ้น พั น ธุ์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การละเมิ ด พันธุ์พื ช ใหม่มีกระบวนการ
กล้วยไม้ - ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกกล้วยไม้ - ราคาต้นพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ
ในต่ างประเทศได้ (หากมี การ ยุ่งยาก
ขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๑,๒๐๖ ครั ว เรื อ น ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง กว่ า
ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารพั ฒ นาพั น ธุ์
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๑๒,๙๙๘ ไร่ ต้นพันธุ์ทั่วไป เป็นระบบ)
- เกษตรกรส่วนใหญ่ ๕๐๘ ครัวเรือน (๔๒%) - มีการพัฒนาพันธุ์ดีในประเทศ

๑๒๘
มี พื้ น ที่ ป ลู ก น้ อ ยกว่ า หรื อ เท่ า กั บ ๕ ไร่ มากขึ้น และเพิ่มมูลค่าการส่งออก
(ข้อมูล ทบก.) ได้
- ค่าเฉลี่ ย พื้น ที่ป ลู ก ๑๐.๘ ไร่ต่อครัว เรือน - เกษตรกรผู้ผลิตพันธุ์มีรายได้
(ข้อมูล ทบก.) เพิม่ ขึ้น
- เกษตรกรสามารถยื่ น ขอจด
ท ะ เ บี ย น คุ้ ม ค ร อ ง พั น ธุ์ ใ น
ต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น
๒. ไม้ดอก - เกษตรกร/หน่วยงานราชการมีการพัฒนาพันธุ์/ - มีโอกาสที่ตลาดพันธุ์จะมีการแข่งขัน - เ ก ษ ต ร ก ร ส า ม า ร ถ จ ด
เมืองร้อน : คัดเลือกพันธุ์ดีเอง ที่สูงขึ้น ทะเบี ย นพั น ธุ์ เ พื่ อ ป้ อ งกั น การ
ปทุมมา - เกษตรกรซื้อพันธุ์ใหม่ หลังจากนั้นเกษตรกร - ราคาหัวพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับ ละเมิดในต่างประเทศได้ (หากมี
มีการเก็บส่วนขยายพันธุ์เอง ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง กว่ า การส่งเสริมให้มีการพัฒนาพันธุ์
หัวพันธุ์ทั่วไป เป็นระบบ)
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
- ต่างประเทศนาพันธุ์พื้นเมืองไทยไปพัฒนา - มีการพัฒนาพันธุ์ดีในประเทศ
และขึ้น ทะเบี ย นคุ้มครองพันธุ์ใหม่ และกีด มากขึ้น และเพิ่มมูลค่าการส่งออก
กันนาเข้าจากไทย (NTB) ได้
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกปทุมมา - เกษตรกรผู้ผลิตพันธุ์มีรายได้
ขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๕ ครัวเรือน คิดเป็น เพิม่ ขึ้น
พื้นที่ปลูกรวม ๒๙ไร่ - เกษตรกรสามารถยื่ น ขอจด
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๔ ครัว เรือ น (๘๐%) ท ะ เ บี ย น คุ้ ม ค ร อ ง พั น ธุ์ ใ น
มี พื้ น ที่ ป ลู ก น้ อ ยกว่ า หรื อ เท่ า กั บ ๕ ไร่ ต่างประเทศได้สะดวกยิ่งขึ้น
(ข้อมูล ทบก.)

๑๒๙
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๕.๗ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น
(ข้อมูล ทบก.)
๓. ไม้ดอก - ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ทางการค้า (ปกติมีการ - ตลาดเมล็ ด พั น ธุ์ มี ก ารแข่ ง ขั น ที่ - ดึงดูดให้ภาคเอกชน/ - เกษตรกรอาจต้องซื้อเมล็ด
เพาะเมล็ด : ซื้อเมล็ดปลูกอยู่แล้ว) สูงขึ้น นักปรับปรุงพันธุ์รายย่อย ลงทุน พันธุ์ที่มีราคาสูงขึ้น
ดาวเรือง - ปี ๒๕๖๒ มี จ านวนเกษตรกรผู้ ป ลู ก - เกษตรกรจะเก็ บ เมล็ ด พั น ธุ์ ข อง วิจัยพัฒนาพันธุ์มากขึ้น
ดาวเรื อ งขึ้ น ทะเบี ย นเกษตรกร ๑,๑๕๖ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ - มีพันธุ์ดีที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
ครัวเรือน คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๒,๗๘๘ ไร่ ปลูกต่อและเก็บเกี่ยวขายผลผลิตได้ - เกษตรกรมีทางเลือกในการเลือกใช้
- เกษตรกรส่ ว นใหญ่ ๑,๐๓๓ ครั ว เรื อ น ก็ ต่ อ เมื่ อ กษ. ต้ อ งออกกฎหมาย พันธุ์ต่าง ๆ มากขึ้น
(๘๙%) มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่ อนุญาตให้ เกษตรกรเก็บเมล็ ดพัน ธุ์ - มี โ อกาสที่ พั น ธุ์ ใ หม่ ๆ จาก
(ข้อมูล ทบก.) ของพันธุ์ใหม่ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ ต่ า งประเทศจะเข้ า มาขายใน
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๒.๔ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง ประเทศไทย
(ข้อมูล ทบก.) เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลูก
ต่อเองดังกล่าว อาจจะไม่สามารถนาไป
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
แบ่งปันเพื่อนบ้านได้ หากกฎหมาย
ไม่อนุญาตให้ทาได้
- ราคาเมล็ ด พั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่
ได้ รั บ ความคุ้ ม ครองอาจมี ร าคาสู ง
กว่าเมล็ดพันธุ์ทั่วไป
๔. ไม้ดอก - เกษตรกรรายใหญ่ สั่ ง ซื้ อ กิ่ ง แม่ พั น ธุ์ จ าก - ไม่กระทบเกษตรกรรายใหญ่ - เจ้าของพันธุ์ใหม่ในต่างประเทศ
เมืองหนาว : ต่ า งประเทศเพื่ อ ขยายพั น ธุ์ เ องพร้ อ มจ่ า ย - ตลาดพันธุ์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น สนใจน าพั น ธุ์ ใ หม่ ม าทดสอบ
เบญจมาศ ค่าธรรมเนียมให้เจ้าของพันธุ์ - เกษตรกรจะเก็บพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ ตลาดและจ าหน่ ายในประเทศ
- เกษตรกรรายย่อยใช้พันธุ์ต่างประเทศที่มี ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อและ ไทยมากขึ้ น (เดิ ม ไม่ จ าหน่ า ย

๑๓๐
อยู่ในไทยและขยายพันธุ์เอง เก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ พันธุ์ให้เพราะเกรงว่าจะไม่ได้รับ
- ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกเบญจมาศ กษ. ต้ อ งออกกฎหมายอนุ ญ าตให้ การคุ้มครองพันธุ์เพราะไทยไม่ได้
ตัดดอกขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๓๘๔ ครัวเรือน เกษตรกรเก็ บ ส่ ว นขยายพั น ธุ์ ข อง เข้าร่วมอนุสัญญา UPOV)
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๑,๑๕๘ ไร่ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ - เกษตรกรมีทางเลือกในการใช้
- เกษตรกรส่วนใหญ่ ๓๒๔ ครัวเรือน (๘๔%) ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง พันธุ์ใหม่มากขึ้น
มีพื้นที่ปลูก น้อยกว่าหรือเท่ากับ ๕ ไร่ (ข้อมูล ต้นพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลูก
ทบก.) ต่ อ เองดั ง กล่ า ว อาจจะไม่ ส ามารถ
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๓.๐ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น นาไปแบ่งปันเพื่อนบ้านได้ หากกฎหมาย
(ข้อมูล ทบก.) ไม่อนุญาตให้ทาได้
- ราคาพั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ
ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์
ทั่วไป
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
๕. ไม้ดอก - ส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ต่างประเทศที่มีอยู่ในไทย - ตลาดพันธุ์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น - เจ้าของพันธุ์ใหม่ในต่างประเทศ
เมืองหนาว : และขยายพันธุ์ปลูกเอง - เกษตรกรจะเก็บพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ สนใจน าพั น ธุ์ ใ หม่ ม าทดสอบ
กุหลาบ - ปี ๒๕๖๒ มีจานวนเกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบ ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อและ ตลาดและจ าหน่ ายในประเทศ
คริสต์มาส ตัดดอกขึ้นทะเบียนเกษตรกร ๒๘๑ ครัวเรือน เก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ ไทยมากขึ้ น (เดิ ม ไม่ จ าหน่ า ย
คิดเป็นพื้นที่ปลูกรวม ๑,๓๔๘ ไร่ กษ. ต้ อ งออกกฎหมายอนุ ญ าตให้ พันธุ์ให้เพราะเกรงว่าจะไม่ได้รับ
- เกษตรกรส่วนใหญ่ ๒๒๑ ครัวเรือน (๗๙%) เกษตรกรเก็ บ ส่ ว นขยายพั น ธุ์ ข อง การคุ้ ม ครองพั น ธุ์ เ พราะไทย
มี พื้ น ที่ ป ลู ก น้ อ ยกว่ า หรื อ เท่ า กั บ ๕ ไร่ พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ ไม่ได้เข้าร่วมอนุสัญญา UPOV)
(ข้อมูล ทบก.) ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง - เกษตรกรมีทางเลือกในการใช้
- ค่ า เฉลี่ ย พื้ น ที่ ป ลู ก ๔.๘ ไร่ ต่ อ ครั ว เรื อ น ต้นพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลูก พันธุ์ใหม่มากขึ้น

๑๓๑
(ข้อมูล ทบก.) ต่ อ เองดั ง กล่ า ว อาจจะไม่ ส ามารถ
น าไปแบ่ งปั นเพื่ อนบ้ านได้ หาก
กฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้
- ราคาพั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ
ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์
ทั่วไป
๖. ไม้ประดับ : - เกษตรกรมีการคัดเลือก/พัฒนาพันธุ์ดีเอง - มีผลกระทบน้อย - เกษตรกรสามารถจดทะเบียน - กระบวนการขอคุ้ ม ครอง
โป๊ยเซียน จากพันธุ์พื้นเมืองเดิม หรือพันธุ์ต่างประเทศ - ตลาดพันธุ์มีการแข่งขันที่สูงขึ้น พันธุ์เพื่อป้องกันการละเมิดใน พันธุ์พื ช ใหม่มีกระบวนการ
แก้วกาญจนา แต่ ยั ง ขาดความรู้ ใ นการปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์ ที่ - เกษตรกรจะเก็บพันธุ์ของพันธุ์ใหม่ ต่างประเทศได้ (หากมีการส่งเสริม ยุ่งยาก
ชวนชม ทันสมัย ที่ได้รับความคุ้มครองไว้ปลูกต่อและ ให้มีการพัฒนาพันธุ์เป็นระบบ) - หากไม่ มี ก ารปกป้ องพั น ธุ์
เก็ บ เกี่ ย วขายผลผลิ ต ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ - มี ก ารพั ฒ นาพั น ธุ์ ดี ม ากขึ้ น พื้ น เมื อ งของไทย ต่ า งชาติ
กษ. ต้ อ งออกกฎหมายอนุ ญ าตให้ ภายในประเทศ และเพิ่มมูลค่า อาจนาพันธุ์พื้นเมืองไปใช้ ใน
เกษตรกรเก็ บ ส่ ว นขยายพั น ธุ์ ข อง การส่งออกได้ กระบวนการปรับปรุงพันธุ์ ทา
คาดการผลกระทบของที่ปรึกษาประจาคณะอนุกรรมการ
ชนิด/กลุ่มพืช สถานการณ์/การปฏิบัติ๑ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อกังวลของเกษตรกร
ผลเสีย ผลดี
พั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองไว้ - เกษตรกรผู้ผลิตพันธุ์มีรายได้ ให้ได้พันธุ์ใหม่ ได้เร็วกว่าไทย
ปลูกต่อบนพื้นที่เพาะปลูกของตนเอง เพิ่มขึ้น ด้ วยเทคโนโลยี ที่ ทั นสมั ยจน
ต้นพันธุ์ที่เกษตรกรเก็บไว้เพาะปลู ก ไทยเสียตลาดได้
ต่ อ เองดั ง กล่ า ว อาจจะไม่ ส ามารถ
น าไปแบ่ ง ปั น เพื่ อ นบ้ า นได้ หาก
กฎหมายไม่อนุญาตให้ทาได้
- ราคาพั น ธุ์ ข องพั น ธุ์ ใ หม่ ที่ ไ ด้ รั บ
ความคุ้มครองอาจมีราคาสูงกว่าพันธุ์
ทั่วไป

๑๓๒
๑ ข้อมูลสถิติจานวนครัวเรือนและพื้นที่ เป็นข้อมูลจากสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร นอกจากเมื่อระบุ “(ข้อมูล ทบก.)” เป็นข้อมูลจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (ทบก.) ปี ๒๕๖๒
จากกรมส่งเสริมการเกษตร
ภาคผนวก ฉ
กระบวนการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุต์ ามภารกิจ
หน่วยงานภาครัฐ
๑๓๔

ภาคผนวก ฉ
กระบวนการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ตามภารกิจหน่วยงานภาครัฐ (ภาพที่ ๑)

ขั้นพันธุ์ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินการ
๑. ชั้นเมล็ดพันธุ์คัด (Breeder Seed) หน่วยงำนผลิต :
ผลิตขึ้นโดยนักปรับปรุงพันธุ์ ต้องทำกำรคัดเลือกเฉพำะเมล็ดพันธุ์ที่ กรมกำรข้ำว (ข้ำว)
มี คุ ณสมบั ติ ตำมที่ นั กปรั บปรุ งพั นธุ์ ก ำหนดคิ ดค้ นขึ้ นมำ ภำยใต้ กำร กรมวิชำกำรเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)
ควบคุม/ตรวจพันธุ์อย่ำงถี่ถ้วน เมล็ดพันธุ์คัดจะนำไปปลูกจะกลำยเป็น
พันธุ์หลักในปีต่อไป

๒. เมล็ดพันธุ์หลัก (Foundation Seed) หน่วยงำนผลิต :


เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ ไ ด้ จ ำกกำรปลู ก ด้ ว ยเมล็ ด พั น ธุ์ คั ด ภำยใต้ ค ำแนะน ำ กรมกำรข้ำว (ข้ำว)
และวิธีกำรของนักปรับปรุงพันธุ์ เพื่อรักษำควำมบริสุทธิ์และลักษณะ กรมวิชำกำรเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)
ประจ ำพัน ธุ์ของพืช เมล็ ดพัน ธุ์ห ลั กที่ได้นำไปปลู กเป็นพันธุ์ขยำย
ในปีต่อไป

๓. เมล็ดพันธุ์ขยาย (Registered Seed) หน่วยงำนผลิตและจำหน่ำย :


เมล็ดพันธุ์ที่ได้จำกกำรปลูกด้วยเมล็ดพันธุ์หลัก โดยเกษตรกรที่ได้รับ กรมกำรข้ำว (ข้ำว)
กำรคัดเลือกให้เป็นผู้จัดทำแปลงขยำยพันธุ์ภำยใต้ระบบกำรควบคุม กรมวิชำกำรเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)
คุณภำพที่ดี เมล็ดพันธุ์ในชั้นพันธุ์ขยำยเป็นลูกชั่วแรกของเมล็ดพันธุ์หลัก
โดยนำเมล็ดพันธุ์หลักไปปลูกเพื่อที่จะขยำยพันธุ์ให้มีจำนวนมำกขึ้น
เมล็ดพันธุ์ขยำยมีเป้ำหมำยกำรผลิตจำนวนมำกมีเพียงพอจำหน่ำย
ให้กับเกษตรกรได้

๔. เมล็ดพันธุ์จาหน่าย (Certified Seed) หน่วยงำนผลิตและจำหน่ำย :


เมล็ดพันธุ์ที่ได้จำกกำรปลูกด้วยเมล็ดพันธุ์ขยำย โดยเกษตรกรทำ ข้ำว :
แปลงขยำยพัน ธุ์ ด้ว ยกำรปฏิบั ติต ำมวิธีกำรที่ได้รั บคำแนะนำจำก กรมกำรข้ำว
เจ้ำหน้ำที่ เป็นเมล็ดพันธุ์ที่ได้รับมำตรฐำนคุณภำพตำมกำหนด และ ศูนย์ข้ำวชุมชน (กรมกำรข้ำว)
มีหน่วยงำนอื่น ๆ ที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ในชั้นพันธุ์นี้ เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์
จ ำหน่ ำ ยให้ แ ก่ เ กษตรกรทั่ ว ไป เป็ น เมล็ ด พั น ธุ์ ที่ ไ ด้ จ ำกกำรปลู ก พืชวงศ์ถั่ว :
ขยำยพันธุ์ให้มีจำนวนมำกขึ้น สำหรับกระจำยสู่เกษตรกร กรมวิชำกำรเกษตร
สหกรณ์กำรเกษตร
ศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว
ชุมชน (กรมส่งเสริมกำรเกษตร)
กลุ่มเกษตรกร
๑๓๕

การผลิตเมล็ดพันธุ์ ขั้นที่ ๑ หน่วยงานผลิต :


เมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์คัด กรมการข้าว (ข้าว)
(Breeder Seed) กรมวิชาการเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)

การผลิตเมล็ดพันธุ์ ขั้นที่ ๒ หน่วยงานผลิต :


เมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์หลัก กรมการข้าว (ข้าว)
(Foundation Seed) กรมวิชาการเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)

การผลิตเมล็ดพันธุ์ ขั้นที่ ๓ หน่วยงานผลิตและจาหน่าย :


เมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์ขยาย กรมการข้าว (ข้าว)
(Registered Seed) กรมวิชาการเกษตร (พืชวงศ์ถั่ว)

หน่วยงานผลิตและจาหน่าย :
ข้าว : กรมการข้าว (ศูนย์ข้าวชุมชน)
การผลิตเมล็ดพันธุ์ ขั้นที่ ๔ พืชตระกูลถั่ว :
เมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จาหน่าย กรมวิชาการเกษตร
(Certified Seed) สหกรณ์การเกษตร
กรมส่งเสริมการเกษตร
(ศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชวงศ์ถั่วชุมชน)
กลุ่มเกษตรกร

ภาพที่ ๑ กระบวนกำรผลิตและจำหน่ำยเมล็ดพันธุ์ตำมภำรกิจหน่วยงำนภำครัฐ
๑๓๖

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ตามภารกิจหน่วยงานภาครัฐ
๑. กรมการข้าว
๑.๑ หน้าที่
๑) ศึกษำ วิจัย และพัฒนำวิทยำกำรเมล็ดพันธุ์และกำรกระจำยเมล็ดพันธุ์
๒) วำงแผนและผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวชั้นพันธุ์ขยำย และชั้นพันธุ์จำหน่ำย
๓) บริหำรจัดกำร และติดตำมประเมินผลกำรผลิตและกำรกระจำยเมล็ดพันธุ์ข้ำว
๔) ส่งเสริมและสนับสนุนธุรกิจเมล็ดพันธุ์ข้ำว
๕) ส่งเสริม สนับสนุน และถ่ำยทอดวิทยำกำรเมล็ดพันธุ์ข้ำว
๖) ตรวจสอบและรับรองระบบกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวและคุณภำพเมล็ดพันธุ์ข้ำว
๗) ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยรำชกำรอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย
๑.๒ การดาเนินงาน/เป้าหมายดาเนินงาน (คิดเป็นร้อยละของควำมต้องกำรของเกษตรกร)
๑) ปัจจุบันผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวชั้นพันธุ์ขยำยและชั้นพันธุ์จำหน่ำย จำนวน ๘๖,๐๐๐ ตัน และในปีงบประมำณ
พ.ศ. ๒๕๖๔ จะเพิ่มเป้ำหมำยกำรผลิตเป็น ๑๐๐,๐๐๐ ตัน
๒) กระจำยเมล็ดพันธุ์ข้ำวคุณภำพดีสู่เกษตรกรไม่น้อยกว่ำร้อยละ ๙๘ ของเมล็ดพันธุ์ที่มีจำหน่ำย
๓) เป้ำหมำยกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ของกรมกำรข้ำวคิดเป็นร้อยละ ๑๐ ของควำมต้องกำรใช้เมล็ดพันธุ์ข้ำว
ของเกษตรกร ซึ่งเกษตรกรยังมีแหล่งเมล็ดพันธุ์ข้ำวแหล่งอื่น เช่น ศูนย์ข้ำวชุมชน สหกรณ์ และภำคเอกชน
๑.๓ งบประมาณ
โครงกำรผลิตและกระจำยเมล็ดพันธุ์ข้ำว ประกอบด้วย กำรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวชั้นพันธุ์คัด ชั้นพันธุ์หลัก
ชั้นพันธุ์ขยำย และชั้นพันธุ์จำหน่ำย ในปี ๒๕๖๓ จำนวน ๑๐๑,๗๓๗,๗๐๐ บำท
๑.๔ ข้อจากัด
๑) งบประมำณสำหรับใช้ในกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวชั้นพันธุ์คัด ชั้นพันธุ์หลัก ชั้นพันธุ์ขยำย และชั้นพันธุ์จำหน่ำย
ไม่เพียงพอ
๒) เครื่องจักร อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ที่ใช้ในกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวของศูนย์วิจัยข้ำวและศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้ำว
มีสภำพเก่ำ อำยุกำรใช้งำนยำวนำน ใช้งำนได้ไม่เต็มประสิทธิภำพ
๓) ขำดแคลนบุคลำกร เนื่องจำกในกระบวนกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ข้ำวคุณภำพดี ต้องใช้เจ้ำหน้ำที่มี ควำมรู้
และประสบกำรณ์ เฉพำะด้ ำน เพื่ อควบคุ มคุ ณภำพตลอดทั้ งกระบวนกำรผลิ ตให้ เมล็ ดพั นธุ์ ข้ ำวได้ คุ ณภำพ
ตำมมำตรฐำนที่กำหนด
๒. กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร
๒.๑ หน้าที่
๑) ศึกษำ วิจัย และพัฒนำเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์
๒) วำงแผนกำรผลิตและกระจำยพันธุ์ ชั้นพันธุ์ขยำยและชั้นพันธุ์จำหน่ำย
๓) ให้ บ ริ ก ำรตรวจสอบเพื่ อ รั บ รองคุ ณ ภำพและสุ ข อนำมั ย ของเมล็ ด พั น ธุ์ พื ช ให้ แ ก่ ภ ำคเอกชน
เกษตรกร ภำครัฐและหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง
๔) ให้บริกำรวิชำกำรและเทคโนโลยีแก่เจ้ำหน้ำที่ เกษตรกร เอกชน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
๑๓๗

๒.๒ การดาเนินงาน/เป้าหมายการดาเนินงาน
กรมวิ ชำกำรเกษตรได้ดำเนินกำรผลิตพืชพันธุ์ดีในชั้นพันธุ์คัด พันธุ์หลัก พันธุ์ขยำย และพันธุ์จำหน่ ำย
เพื่อให้เกษตรกรได้ใช้พืชพันธุ์ดี เป้ำหมำย ๗๕ ชนิด ประกอบด้วย พืชไร่ ๑๔ ชนิด ได้แก่ ถั่วเหลือง ถั่วเขียว
ถั่วลิสง ข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ ข้ำวโพดฝักสด ทำนตะวัน งำ ถั่วหรั่ง ฝ้ำย ข้ำวฟ่ำง ถั่วพุ่ม อ้อย มันสำปะหลัง ปำล์มน้ำมัน
พืชสวน ๔๕ ชนิด โดยกระจำยพืชพันธุ์ดีไปสู่กลุ่มเป้ำหมำยผู้ใช้ประโยชน์แล้ว พันธุ์พืชไร่ ๘ ชนิด กระจำยสู่
เกษตรกรกลุ่มเป้ ำหมำยแล้ว คิดเป็ นร้ อยละ ๙๙.๗๔ ของผลกำรผลิตที่ได้ พันธุ์พืช สวน ๔๕ ชนิด คิดเป็น
ร้อยละ ๗๕.๐๙ ของผลกำรผลิตที่ได้ พืชพันธุ์ดีและปัจจัยกำรผลิต ๗๕ ชนิด มีกำรกระจำยสู่เกษตรกรแล้ว
จำแนกเป็น เกษตรกรรำยย่อย ๒,๖๕๖ รำย กลุ่มเกษตรกร ๑๐ กลุ่ม วิสำหกิจ ๑๐ กลุ่ม ภำครัฐ ๖๕ หน่วยงำน
ภำคเอกชน ๕๓ หน่วยงำน และสหกรณ์กำรเกษตร ๗ สหกรณ์ สนับสนุนพื้นที่ปลูกไม่น้อยกว่ำ ๑๗๑,๒๘๓ ไร่
มีผลกำรดำเนิน งำนปี ๒๕๖๓ ดังตำรำงที่ ๑ ซึ่งในปัจจุบันปริมำณที่ผ ลิตได้ไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรใช้
ของเกษตรกร โดยภำพรวมกรมวิชำกำรเกษตรผลิตได้ ร้อยละ ๑ - ๒๕ ของควำมต้องกำร ซึ่งเกษตรกรมีแหล่ง
เมล็ดพันธุ์/ต้นพันธุ์/ท่อนพันธุ์จำกแหล่งอื่น เช่น ข้ำวโพด ปำล์มน้ำมัน และเมล็ดพันธุ์ผักมีภำคเอกชนผลิตและจำหน่ำย
ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังและอ้อย เกษตรกรสำมำรถเก็บพันธุ์ไว้ใช้เอง พืชตระกูลถั่วผลิตโดยกรมวิชำกำรเกษตร
ศูนย์ถั่วชุมชนและกลุ่มเกษตรกร

ตารางที่ ๑ ผลผลิตพืชพันธุ์ดีและร้อยละกำรใช้ประโยชน์ ปี ๒๕๖๓

ชนิดพืช หน่วยนับ จานวนผลผลิต ร้อยละการใช้


ประโยชน์
พืชไร่
-เมล็ดพันธุ์: (ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ตัน ๔๙๐ ๙๙.๔๗
ถั่วลิสง ข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์
ข้ำวโพดฝักสด งำ ถั่วพุ่ม และฝ้ำย)
-ท่อนพันธุ์: (อ้อย มันสำปะหลัง) ท่อน ๑๐,๑๑๔,๓๒๐ ๘๐.๘๐
-ต้นพันธุ์: (ปำล์มน้ำมัน) ต้น ๓๓๗,๒๙๙ ๓๓
พืชสวน
-ต้นพันธุ์: กลุ่มไม้ผล (เงำะ ทุเรียน มะขำม ต้น ๔๕๑,๗๖๖ ๖๒.๑๓
เปรี้ยว มะนำว ส้ม ส้มโอ มะม่วง มะยงชิด
มะละกอ ลำไย ลิ้นจี่ มะไฟจีน ชมพู่ ขนุน
ลำงสำด ฝรั่ง
กลุ่มไม้เมืองหนาว: บ๊วย พลับ ท้อ อะโวกำโด
เกำลัดจีน สตอเบอร์รี สำลี่ มะเดื่อฝรั่ง
กลุ่มพืชอุตสาหกรรม: กำแฟ โกโก้ ชำจีน
มะคำเดเมีย มะม่วงหิมพำนต์ มะพร้ำว
น้ำหอม
กลุ่มพืชผัก: สะตอ ผักพื้นเมือง ไผ่
กลุ่มพืชสมุนไพร: หมำก พริกไทย
เจียวกู้หลำน มะไฟจีน ขมิ้น มะขำมป้อม
กระวำน รำงจืด วำนิลำ
กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ: หน้ำวัว ดำหลำ
ปทุมมำ ว่ำนสี่ทิศ หงส์เหิน
๑๓๘

ชนิดพืช หน่วยนับ จานวนผลผลิต ร้อยละการใช้


ประโยชน์
-เมล็ดพันธุ์: กลุ่มพืชผัก (พริก ถั่วลันเตำ กิโลกรัม ๑,๔๖๗.๗๕ ๕๐.๐๗
ถั่วฝักยำว มะเขือเทศ มะเขือเปรำะ มะเขือยำว
คะน้ำ ผักบุ้งจีน กวำงตุ้ง กระเจี๊ยบเขียว
กะเพรำ แมงลัก โหระพำ ผักชี ผักสลัด
ผักกำดหอม)
-หน่อพันธุ์: กลุ่มพืชอุตสาหกรรม (กล้วย หน่อ ๔๕,๗๑๘ ๙๒.๙๕
สับปะรด)
-ยอดพันธุ์: กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ (เบญจมำศ) ยอดพันธุ์ ๑๐๕,๕๒๐ ๙๔.๗๙
กลุ่มพืชอุตสาหกรรม (มันเทศ)
-หัวพันธุ์: มันฝรั่ง ขิง หัว ๒๘๐,๖๑๘ ๗๕.๕๐
๒.๓ งบประมาณ
ในปี ๒๕๖๓ กำรผลิตพืชพันธุ์ดีของกรมวิชำกำรเกษตร ประกอบด้วย งบประมำณ ๒ แหล่ง จำนวน ๓ โครงกำร
ดังนี้
๑) โครงกำรพัฒนำศักยภำพกระบวนกำรผลิตสินค้ำเกษตร งบประมำณ ๕๒,๙๔๙,๖๘๒ บำท (เงินงบประมำณ)
๒) โครงกำรวิจั ยและผลิ ตเมล็ ดพันธุ์พืช วงศ์ ถั่วคุณภำพดีเพื่ อรองรับกำรผลิ ตพืชภำยใต้วิกฤติภั ยแล้ ง
งบประมำณ ๒๔,๑๒๒,๒๘๐ บำท (เงินนอกงบประมำณ)
๓) โครงกำรวิ จั ยพั ฒนำและขยำยผลเทคนิ คกำรผลิ ตท่ อนพั นธุ์ มั นส ำปะหลั งสะอำดและมี คุ ณภำพ
๑๗,๒๙๑,๒๐๐ บำท รวมงบประมำณทั้งสิ้น ๙๔,๓๖๓,๑๖๒ บำท (เงินนอกงบประมำณ)
๒.๔ ข้อจากัด
๑) ไม่มีหน่วยงำนที่รับหน้ำที่ผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จำหน่ำยที่ชัดเจน ทำให้กระบวนกำรผลิตเมล็ดพันธุ์
ไม่เป็นไปตำมระบบ
๒) ขำดแคลนบุคลำกรที่มีควำมรู้ และควำมชำนำญ ทั้งกระบวนกำรผลิตและกำรตรวจสอบคุณภำพ
ของเมล็ดพันธุ์
๓) งบประมำณมี จ ำกั ด ท ำให้ นั กวิ จั ยต้ องเขี ยนโครงกำรเพื่ อของบประมำณจำกแหล่ งทุ นอื่ นเพื่ อใช้
ในกำรผลิตเมล็ดพันธุ์
๓. กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร
๓.๑ หน้าที่
๑) ถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเพำะเลี้ยง และกำรจัดกำรพันธุ์พืช
๒) วำงแผนกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จำหน่ำย และพันธุ์ดี ให้เป็นไปตำมนโยบำยและยุทธศำสตร์
และสอดคล้องกับควำมต้องกำรของเกษตรกร
๓) ควบคุมกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ และพืชพันธุ์ดี ให้มีคุณภำพและมำตรฐำน
๔) ดำเนินกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ และพืชพันธุ์ดี เพื่อสนับสนุนกำรส่งเสริมกำรเกษตร
๕) จำหน่ำยและให้บริกำรเมล็ดพันธุ์ และพืชพันธุ์ดี แก่เกษตรกร
๖) ดำเนินกำรบริหำรจัดกำรเงินทุนหมุนเวียน
๑๓๙

๓.๒ การดาเนินงาน/เป้าหมายการดาเนินงาน
กองขยำยพันธุ์พืช กรมส่งเสริมกำรเกษตร ดำเนินกำรผลิตและขยำยพืชพันธุ์ดีใน ๔ สำยกำรผลิต ได้แก่
กำรเพำะเลี้ ยงเนื้ อเยื่ อ ต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์ และเมล็ ดพันธุ์ เพื่อสนับสนุนงำนส่ งเสริมกำรเกษตรและส่ งเสริ ม
ตำมควำมต้องกำรของเกษตรกร ๕ มิติ ได้แก่
๑) ผลิตพันธุ์พืชเพื่อสนับสนุนงำนโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ
๒) ส่งเสริมกำรใช้พืชพันธุ์ดีเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตเพื่อสร้ำงรำยได้ภำคเกษตร (พืชสร้ำงรำยได้)
๓) รองรั บ สถำนกำรณ์กำรเกิดกำรระบำดของโรค/ศัตรูพืช ในพืช เศรษฐกิจ หรือแก้ปัญหำโรคพืช
ที่แฝงไปกับต้นพันธุ์
๔) เตรียมควำมพร้อมปัจจัยกำรผลิตด้ำนพันธุ์พืชเพื่อรองรับนโยบำยภำครัฐและสถำนกำรณ์ภัยธรรมชำติ
๕) สนับสนุนกำรอนุรักษ์พันธุ์พืชท้องถิ่น พืชหำยำกหรือใกล้สูญพันธุ์
โดยขับเคลื่ อนผ่ ำนงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีกรมส่ งเสริมกำรเกษตร และระเบียบกรมส่งเสริม
กำรเกษตรว่ำด้วยกำรใช้จ่ำยเงินรำยได้จำกกำรดำเนินงำนส่งเสริมด้ำนกำรเกษตร พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีแผนและ
ผลกำรดำเนินงำนถึงปัจจุบัน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๕ กรกฎำคม ๒๕๖๓)

สายการผลิต แผน ผล
- เนื้อเยื่อ ๗๐๐,๐๐๐ ต้น ๕๔๙,๗๐๐ ต้น
- ต้นพันธุ์ ๑,๑๘๙,๐๐๐ ต้น ๑,๙๙๓,๓๙๒ ต้น
- ท่อนพันธุ์ ๖๑๐,๐๐๐ ท่อน ๑๑๘,๐๐๐ ท่อน
- เมล็ดพันธุ์ ๑,๐๐๐ กก. ๕๐,๐๐๐ ซอง
รวม ๒,๕๐๐,๐๐๐ หน่วย ๒,๗๑๑,๐๙๒ หน่วย

๓.๓ งบประมาณ
๑) งบประมำณ ปี ๒๕๖๓
ได้รับกำรสนับสนุนงบประมำณ จำนวน ๗๘.๓๖๐๓ ล้ำนบำท จำแนกเป็น งบดำเนินงำน ๖.๙๐๐ ล้ำนบำท
ค่ำสำธำรณูปโภค ๗.๑๐๐ ล้ำนบำท งบลงทุน ๖๔.๓๖๐๓ ล้ำนบำท (คำของบประมำณปี ๒๕๖๓ จำนวน
๒๔๖.๒๙๗๐ ล้ำนบำท)
๒) งบประมำณ ปี ๒๕๖๔
กรอบวงเงินที่ได้รั บควำมเห็ นชอบจำกส ำนักงบประมำณ จำนวน ๒๕.๗๘๐ ล้ ำนบำท จำแนกเป็น
งบดำเนิ น งำน ๖.๑๑๗๕ ล้ ำนบำท งบลงทุน ๑๙.๖๖๓๔ ล้ ำนบำท (คำของบประมำณปี ๒๕๖๔ จำนวน
๓๘๘.๑๐๕๐ ล้ำนบำท)
๓.๔ ข้อจากัด
๑) อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งจั ก รกล โรงเรื อ นอนุ บ ำลพั น ธุ์ พื ช ของศู น ย์ ข ยำยพั น ธุ์ พื ช ด ำเนิ น กำรก่ อ สร้ ำ ง
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๕ ปัจจุบันมีอำยุกำรใช้งำนมำกกว่ำ ๑๘ - ๒๕ ปี ปัจจุบันได้ดำเนินกำรปรับปรุงแล้ว
จำนวน ๖ แห่ง งบประมำณรวม ๙๓.๑๙๓๖ ล้ำนบำท คงเหลืออยู่ระหว่ำงขอรับกำรสนับสนุ นงบประมำณ
เพื่อดำเนินกำรปรับปรุงอีก ๔ แห่ง ได้แก่ ศขพ.ที่ ๒ จังหวัดตรัง ศขพ.ที่ ๖ จังหวัดพิษณุโลก ศขพ. ที่ ๗ จังหวัด
มหำสำรคำม และศขพ.ที่ ๘ จังหวัดลำพูน เมื่อดำเนินกำรปรับปรุงแล้ว จะสำมำรถรองรับกำลังกำรผลิตพืช
ในโรงเรือนอนุบำลได้ จำนวน ๕,๖๐๐,๐๐๐ ต้น/ศูนย์/ปี
๑๔๐

๒) โรงงำนปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์ กองขยำยพันธุ์เป็นหน่วยงำนภำยในที่ตั้งขึ้นมำใหม่ มีภำรกิจใน


ด้ำนกำรผลิตเมล็ดพันธุ์พืช แต่ยังไม่มีโรงงำนปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์ที่จะเป็นขั้นตอนสำคัญในกระบวนกำร
ผลิตและจำหน่ำยเมล็ดพันธุ์ที่ต้องมีกำรควบคุมตรวจสอบคุณภำพเมล็ดพันธุ์ เพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์มีคุณภำพดี
ตำมมำตรฐำนจำหน่ำยสู่เกษตรกรนำไปเพำะปลูกต่ อไป ปัจจุบันกรมส่งเสริมกำรเกษตรได้ดำเนินกำรจัดตั้ง
ศูนย์ผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชน เพื่อแก้ปัญหำกำรขำดแคลนเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว ศูนย์ฯ ที่ผลิต
เมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่วชุมชนนั้นดำเนินกำรโดยเกษตรกร มีกรมส่งเสริมกำรเกษตรกรสนับสนุนปัจจัยกำรผลิต
และซื้อพันธุ์พืชตระกูล ถั่ว ชั้นพัน ธุ์ข ยำยจำกกรมวิชำกำรเกษตรมำให้ เกษตรกร ดำเนินกำรผลิ ตเมล็ ดพันธุ์
ชั้นพันธุ์จำหน่ำย ผลผลิตที่เกษตรกรได้จะไม่มีกำรปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์ ส่งผลทำให้เกษตรกรจำหน่ำย
เมล็ดพันธุ์ได้ในรำคำคละเกรด ซึ่งเป็นรำคำชั้นต่ำสุดของเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว ดังนั้น กำรมีโรงงำนปรับ ปรุง
สภำพเมล็ดพันธุ์จะเป็นกำรช่วยเกษตรกรให้มีรำยได้เพิ่มขึ้นจำกกำรจำหน่ำยแบบแยกเกรดเมล็ดพันธุ์ตำมชั้นคุณภำพ
อีกทั้งทำให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภำพมำตรฐำนไว้ปลูกต่อไป
กรมส่งเสริมกำรเกษตรได้จัดทำโครงกำรเพิ่มศักยภำพและขีดควำมสำมำรถในกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี
ภำยใต้กรอบนโยบำยกำรฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแผนงำนหรือโครงกำรลงทุนและกิจกรรม
กำรพัฒนำที่สำมำรถ พลิกฟื้นกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ เพิ่มศักยภำพ และยกระดับกำรค้ำ กำรผลิต และกำรบริกำร
ในสำขำเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ โดยครอบคลุมภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรค้ำและกำรลงทุน
ท่องเที่ยวและบริกำร (กลุ่ม ๓.๑) เพื่อขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณในกำรก่อสร้ำงโรงงำนปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์
พร้อมครุภัณฑ์ประจำโรงงำน จำนวน ๕ แห่ง ๆ ละ ๑๗๔.๓๓๗๖ ล้ำนบำท รวม ๘๗๑.๖๘๘๐ ล้ำนบำท ปรับปรุงโรงเรือน
อนุบำลพันธุ์พืชเพิ่มเติม จำนวน ๕ แห่ง รวม ๔๓ รำยกำร รวม ๗๒.๙๓๗๙ ล้ำนบำท
ทั้งนี้ หำกได้รับกำรพิจำรณำอนุมัติจะสำมำรถดำเนินกำรก่อสร้ำงโรงงำนปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์
พร้อมติดตั้งเครื่องจักรประจำโรงงำนและจัดหำครุภัณฑ์ได้แล้วเสร็จภำยในปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และเริ่ม
ดำเนินกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ได้ในปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๕ เป้ำหมำยกำรผลิตจำนวนรวม ๘๑๖ ตัน โดยจำแนก
เป็นพืชตระกูลถั่ว จำนวน ๕๖๖ ตัน และเมล็ดพันธุ์ข้ำวโพด จำนวน ๒๕๐ ตัน รำยละเอียดตำมตำรำงที่ ๓
(หน้ำ ๑๑)
๓) เงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช
(๑) กรมส่งเสริมกำรเกษตร ได้ขอตั้งงบประมำณเพื่อใช้ในกำรผลิตและขยำยพันธุ์พืชพันธุ์ดีกระจำยสู่
เกษตรกรเพื่อแก้ไขปัญหำกำรขำดแคลนพันธุ์พืชพันธุ์ดี ตำมมำตรำ๑๕ แห่งพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำย
เพิ่มเติมประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๑ เงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช จำนวน ๑๕๐ ล้ำนบำท
ซึ่งอยู่ในอำนำจของคณะกรรมกำรบริหำรทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช ตำมพระรำชบัญญัติบริหำร
ทุนหมุนเวียน พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่มีอธิบดีกรมกำรข้ำวเป็นประธำนกรรมกำร สำหรับใช้ในกิจกำรของกรมกำรข้ำว
โดยได้มีกำรประชุมหำรื อผู้ เกี่ย วข้องเพื่อพิจำรณำหำแนวทำงให้ กรมส่งเสริมกำรเกษตรสำมำรถใช้เงินทุน
ดังกล่ำวได้
(๒) ผลกำรพิจำรณำ ได้ข้อสรุปว่ำ กรมส่งเสริมกำรเกษตรไม่สำมำรถใช้เงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิต
และขยำยพันธุ์พืชได้ โดยยึดตำมมติที่ประชุมคณะกรรมกำรบริหำรเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช
ครั้งที่ ๑ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกำยน ๒๕๖๑ ซึ่งมีสำนักงบประมำณและกรมบัญชีกลำง
ร่วมเป็นกรรมกำร ได้มีมติผลกำรพิจำรณำกำรใช้เงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืชที่ได้รับอนุมัติเพิ่มเติม
จำนวน ๑๕๐ ล้ำนบำท และมีมติเห็นชอบให้แจ้งกรมส่งเสริมกำรเกษตรว่ำไม่สำมำรถใช้เงินทุ นหมุนเวียน
เพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืชในกำรดำเนินงำนผลิตและจำหน่ำยพันธุ์พืชภำยใต้ภำรกิจของกรมส่งเสริมกำรเกษตรได้
เนื่องจำกภำรกิจดังกล่ำวไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกำรก่อตั้งเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช
และภำรกิจหลักของกรมกำรข้ำว
๑๔๑

(๓) สำหรับเงินทุนหมุนเวียนเพื่อผลิตและขยำยพันธุ์พืช จำนวน ๑๕๐ ล้ำนบำท นั้น ไม่ได้มีกำร


ส่งคืนเงินรำยได้แผ่นดิน เนื่องจำกกรมกำรข้ำวได้ขอใช้ตำมภำรกิจเร่งด่วนที่ได้รับมอบหมำย
๓.๕ การดาเนินการในปัจจุบัน
๑) กรมส่งเสริมกำรเกษตรได้ของบประมำณภำยใต้กรอบนโยบำยกำรฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศแผนงำนหรือโครงกำรลงทุนและกิจกรรมกำรพัฒนำที่สำมำรถ พลิกฟื้นกิจกรรมทำงเศรษฐกิจ
เพิ่มศักยภำพ และยกระดับกำรค้ำ กำรผลิต และกำรบริกำรในสำขำเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ โดยครอบคลุม
ภำคเกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรค้ำและกำรลงทุน ท่องเที่ยวและบริกำร (กลุ่ม ๓.๑) โครงกำรเพิ่มศักยภำพ
และขีดควำมสำมำรถในกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี งบประมำณ ๑,๐๑๙.๖๐๔๘ ล้ำนบำท จำนวน ๕ กิจกรรม
ได้แก่
(๑) ก่อสร้ำงโรงงำนปรับปรุงสภำพเมล็ดพันธุ์ จำนวน ๕ แห่ง รวม ๘๗๑.๖๘๘๐ ล้ำนบำท
(๒) ก่อสร้ำงอำคำรปฏิบัติกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จำนวน ๗ แห่ง รวม ๗๑.๐๖๓๘ ล้ำนบำท
(๓) ปรับปรุงสิ่งก่อสร้ำงอื่น (โรงเรือนอนุบำลพันธุ์พืช) จำนวน ๕ แห่ง รวม ๗๒.๙๓๗๙ ล้ำนบำท
(๔) จัดซื้อระบบไบโออีแอคเตอร์แบบอัตโนมัติ ๔๒ คู่ จำนวน ๒๒ ชุด รวม ๓.๔๒๕๑ ล้ำนบำท
(๕) จั ดซื้ อเครื่ องท ำควำมสะอำดและคั ดแยกคุ ณภำพน้ ำหนั กเมล็ ดพั นธุ์ จ ำนวน ๑๐ เครื่ อง
รวม ๐.๔๙ ล้ำนบำท
ปัจจุบันหน่วยงำนจัดส่งข้อเสนอโครงกำรโดยผ่ำนควำมเห็นชอบของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเกษตรแล้ว
เมื่อวันที่ ๗ สิงหำคม ๒๕๖๓ อยู่ระหว่ำงกำรพิจำรณำของสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชำติ (สคช.) และได้รับกำรประสำนงำนภำยในเสนอคณะอนุกรรมกำรกลั่นกรองฯ พิจำรณำในวันที่ ๓๐
สิงหำคม ๒๕๖๓ โดยมีแผนกำรดำเนินกำรและแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ รำยละเอียดตำมตำรำงที่ ๒ ดังนี้
ตารางที่ ๒ แผนกำรดำเนินกำรและแผนกำรใช้จ่ำยงบประมำณโครงกำรเพิ่มศักยภำพและขีดควำมสำมำรถในกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี
กิจกรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
๑. ดำเนินกำรจัดซื้อครุภัณฑ์และ
จัดจ้ำงตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังฯ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒. จัดซื้อครุภัณฑ์ จำนวน ๒ รำยกำร
๒.๑ จัดซื้อระบบไบโอรีแอคเตอร์ ๓.๔๒๕๑
แบบอัตโนมัติ ๔๒ คู่ จำนวน ๒๒ ชุด
๒.๒ จัดซื้อเครื่องทำควำมสะอำด ๐.๔๙๐๐
และคัดแยกคุณภำพน้ำหนักเมล็ด
พันธุ์ จำนวน ๑๐ เครื่อง
๓. ดำเนินกำรและควบคุมงำนก่อสร้ำง
๓.๑ ดำเนินกำรและควบคุมงำน ๑๗๔.๓๓๗๖ ๑๗๔.๓๓๗๖ ๘๗.๑๖๘๘ ๘๗.๑๖๘๘ ๘๗.๑๖๘๘ ๘๗.๑๖๘๘ ๘๗.๑๖๘๘ ๔๓.๕๘๔๔ ๔๓.๕๘๔๔

๑๔๒
ก่อสร้ำง ก่อสร้ำงโรงงำนปรับปรุง
สภำพเมล็ดพันธุ์ จำนวน ๕ แห่ง
๓.๒ ก่อสร้ำงอำคำร ๑๔.๒๑๒๗ ๑๔.๒๑๒๗ ๑๔.๒๑๒๗ ๑๔.๒๑๒๗ ๑๔.๒๑๓๐
ห้องปฏิบัติกำรเพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
จำนวน ๗ แห่ง
๓.๓ ปรับปรุงสิ่งก่อสร้ำงอื่น ๒๒.๙๓๗๙ ๒๕.๐๐๐๐ ๒๕.๐๐๐๐
(โรงเรือนอนุบำลพันธุ์พืช) จำนวน ๕ แห่ง
๔. ประสำนงำนและติดตำมโครงกำร
๕. สรุปผลกำรดำเนินงำน
รวม ๑,๐๑๙.๖๐๔๘ ล้านบาท ๓.๙๑๕๑ ๒๑๑.๔๘๘๒ ๑๗๔.๓๓๗๖ ๑๒๖.๓๘๑๕ ๘๗.๑๖๘๘ ๑๒๖.๓๘๑๕ ๑๐๑.๓๘๑๕ ๑๐๑.๓๘๑๘ ๔๓.๕๘๔๔ ๔๓.๕๘๔๔
๑๔๓

๒) ปัจจุบัน กองขยำยพันธุ์พืชยังเป็นหน่วยงำนภำยใน ทั้งนี้ กรมส่งเสริมกำรเกษตรต้องดำเนินกำร


ตำมหนังสือเวียนสำนักงำน ก.พ.ร. ที่ นร. ๑๒๐๐/ว ๑ ลงวันที่ ๒๕ มกรำคม ๒๕๖๒ เรื่องกำรซักซ้อมควำมเข้ำใจ
เกี่ยวกับมติคณะรัฐมนตรี เรื่อง กำรทบทวนข้อเสนอให้จัดตั้งหน่วยงำนของรัฐตำมแผนกำรปฏิรูปประเทศ โดยให้
หน่วยงำนถือปฏิบัติตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑ พฤษภำคม ๒๕๖๑ เรื่อง กำรขอจัดตั้งหน่วยงำนตำมแผนกำรปฏิรูป
ประเทศด้ำนต่ำง ๆ ซึ่งกำหนดให้ส่วนรำชกำรต้องพิจำรณำปรับปรุงบทบำท ภำรกิจ และโครงสร้ำงของหน่วยงำน
ที่มีอยู่เดิมเป็นลำดับแรก และปรับวิธีกำรทำงำนให้มีกำรบูรณำกำรระหว่ำงหน่วยงำนให้เกิดผลอย่ำงเป็นรูปธรรม
ก่อนเสนอให้มีกำรจัดตั้งหน่วยงำนใหม่
๓.๖ ประมาณการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ปี ๒๕๖๕ - ๒๕๖๗
เพื่อให้กรมส่งเสริมกำรเกษตร สำมำรถผลิตและเผยแพร่เมล็ดพันธุ์-ส่วนขยำยพันธุ์ของพืชสำคัญ เช่น
อ้อย มันสำปะหลัง ถั่ว ผักชนิดต่ำง ๆ ให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ทำเกษตรยั่งยืนและน้อมนำหลักปรัชญำเศรษฐกิจ
พอเพียงมำประยุกต์ใช้ตำมแผนย่อยเกษตรชีวภำพ ของแผนแม่บทประเด็นกำรเกษตร ภำยใต้แผนยุทธศำสตร์ชำติ ๒๐ ปี
โดยเฉพำะกำรเร่งเพิ่มศักยภำพกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จำหน่ำยให้เป็นไปตำมแผนกำรผลิตและขยำยพันธุ์พืช
ระยะ ๓ ปี (๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เพื่อแก้ไขปัญหำกำรขำดแคลนพืชพันธุ์ดี โดยเฉพำะเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว
และข้ำวโพด ซึ่งปัจจุบันไม่มีหน่วยงำนหลักดำเนินกำรผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์จำหน่ำย รำยละเอียดตำมตำรำงที่ ๒
โดยมีแผนกำรขอรับสนับสนุนงบประมำณในลักษณะเงินทุนหมุนเวียนเพื่อกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี สำหรับสนับสนุน
ให้บริกำรและจำหน่ำยในรำคำที่เป็นธรรม โดยมีรำยละเอียดดังนี้
ปี ๒๕๖๕ ขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ ๗๖.๘๙๘๐ ล้ำนบำท
ปี ๒๕๖๖ ขอรั บ กำรสนั บ สนุ น งบประมำณ ๓๖.๐๖๘๐ ล้ ำ นบำท รวมเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นสะสม
จำนวน ๑๑๒.๙๖๖๐ ล้ำนบำท
ปี ๒๕๖๗ ขอรั บ กำรสนั บ สนุ น งบประมำณ ๗๒.๑๓๖๐ ล้ ำ นบำท รวมเงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นสะสม
จำนวน ๑๘๕.๑๐๒๐ ล้ำนบำท
ตารางที่ ๓ แสดงแผนกำรผลิตและประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยในกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี ๔ สำยกำรผลิต

เป้าหมายการผลิต (ต้น/ตัน) รองรับพื้นที่เพาะปลูก (ไร่) ประมาณการค่าใช้จ่าย (บาท)


สายการผลิต
ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๗ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๗ ปี ๒๕๖๕ ปี ๒๕๖๖ ปี ๒๕๖๗
รวม ๕,๗๐๕,๘๑๖ ๕,๗๐๖,๖๓๑ ๕,๗๐๘,๒๖๒ ๑๔๑,๖๘๘ ๒๗๒,๐๖๒ ๕๓๒,๘๐๘ ๗๖,๘๙๘,๐๐๐ ๓๖,๐๖๘,๐๐๐ ๗๒,๑๓๖,๐๐๐
๑. พันธุ์พืชจำกกำร ๙๑๐,๐๐๐ ๙๑๐,๐๐๐ ๙๑๐,๐๐๐ ๔,๑๕๕ ๔,๑๕๕ ๔,๑๕๕ ๑๙,๗๙๕,๐๐๐ - -
เพำะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
๒. ต้นพันธุ์ ๙๑๕,๐๐๐ ๙๑๕,๐๐๐ ๙๑๕,๐๐๐ ๕,๑๖๐ ๕,๑๖๐ ๕,๑๖๐ ๘,๐๗๕,๐๐๐ - -
๓. ท่อนพันธุ์ ๓,๘๘๐,๐๐๐ ๓,๘๘๐,๐๐๐ ๓,๘๘๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๒,๐๐๐ ๑๒,๙๖๐,๐๐๐ - -
๔. เมล็ดพันธุ์ ๘๑๖ ๑,๖๓๑ ๓,๒๖๒ ๑๓๐,๓๗๓ ๒๖๐,๗๔๗ ๕๒๑,๔๙๓ ๓๖,๐๖๘,๐๐๐ ๓๖,๐๖๘,๐๐๐ ๗๒,๑๓๖,๐๐๐
๑) ถั่วเขียว ๑๐๐ ๒๐๐ ๔๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐ ๘๐,๐๐๐
๒) ถั่วเหลือง ๒๒๖ ๔๕๑ ๙๐๒ ๑๕,๐๔๐ ๓๐,๐๘๐ ๖๐,๑๖๐
๓) ถั่วลิสง ๒๔๐ ๔๘๐ ๙๖๐ ๑๒,๐๐๐ ๒๔,๐๐๐ ๔๘,๐๐๐

๑๔๔
๔) ข้ำวโพดไร่
ลูกผสม ๒๕๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ๘๓,๓๓๓ ๑๖๖,๖๖๗ ๓๓๓,๓๓๓
รวมเงินทุนหมุนเวียนสะสม (บาท) ๗๖,๘๙๘,๐๐๐ ๑๑๒,๙๖๖,๐๐๐ ๑๘๕,๑๐๒,๐๐๐

หมำยเหตุ ขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณในลักษณะเงินทุนหมุนเวียนเพื่อกำรผลิตขยำยพืชพันธุ์ดี สำหรับสนับสนุนให้บริกำรและจำหน่ำยในรำคำที่เป็นธรรม


โดยมีรำยละเอียดดังนี้
ปี ๒๕๖๕ ขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ ๗๖.๘๙๘๐ ล้ำนบำท
ปี ๒๕๖๖ ขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ ๓๖.๐๖๘๐ ล้ำนบำท รวมเงินทุนหมุนเวียนสะสม จำนวน ๑๑๒.๙๖๖๐ ล้ำนบำท
ปี ๒๕๖๗ ขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ ๗๒.๑๓๖๐ ล้ำนบำท รวมเงินทุนหมุนเวียนสะสม จำนวน ๑๘๕.๑๐๒๐ ล้ำนบำท
ภาคผนวก ช
การอนุรักษ์พันธุพ์ ืชและฐานข้อมูลพันธุ์พืช
๑๔๖

ภาคผนวก ช
การอนุรักษ์พันธุ์พืช และฐานข้อมูลพันธุ์พืช
กรมการข้าว
เชื้ อพั น ธุ กรรมข้ าวที่ อนุ รั กษ์ ไว้ ในศู นย์ ปฏิ บั ติ การและเก็ บเมล็ ดเชื้ อพั นธุ์ ข้ าวแห่ งชาติ นั บว่ าเป็ น
ทรัพยากรที่มีคุณค่าและศักยภาพที่จะนาไปใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ มากมาย เช่น การปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตและคุณภาพ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยเฉพาะข้าวพันธุ์พื้นเมืองไทย
แต่ละพันธุ์ต่างมีลักษณะเฉพาะตัว บางพันธุ์แม้ให้ผ ลผลิตต่าแต่ก็มีลักษณะดีบางประการ เช่น คุณภาพเมล็ ด
คุณภาพในการหุงต้ม ความต้านทานโรคแมลง เป็นต้น (สมทรง, ๒๕๕๒) ซึ่งข้าวพันธุ์พื้นเมืองบางพันธุ์ในปัจจุบัน
ไม่มีการปลูกแล้ว เชื้อพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่อนุรักษ์ไว้ นับได้ว่าเป็นแหล่งพันธุกรรมสุดท้าย เปรียบเสมือนสมบัติ
ของชาติ
ภารกิ จ หลั กของศู นย์ ปฏิ บั ติ การและเก็ บเมล็ ดเชื้ อพั นธุ์ ข้ าวแห่ งชาติ ด าเนิ นการมาอย่ างต่ อเนื่ อง
คือ การประเมินลักษณะและคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าว โดยแต่ละปีได้จัดส่งเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวไปปลูกศึกษาและ
ประเมิ นลั กษณะที่ ศู นย์ วิ จั ย ข้ าวต่ าง ๆ ซึ่ งอยู่ ในบริ เวณแหล่ งที่ เก็ บรวบรวมเชื้ อพั นธุ์ ข้ าวและมี สภาพนิ เวศ
ที่เหมาะสมกับพันธุ์ข้าวนั้น ๆ ในการประเมินคุณค่าของเชื้อพันธุ์ข้าวนั้นจาเป็นต้องใช้เมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวเพื่อปลูก
ศึ กษา ทดสอบ หรื อวิ เคราะห์ นอกจากนี้ ศู นย์ ปฏิ บั ติ การและเก็ บเมล็ ดเชื้ อพั นธุ์ ข้ า วแห่ งชาติ ยั งให้ บริ การ
เมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวแก่หน่วยงาน นักวิชาการและผู้สนใจทั่วไป โดยมีผู้ขอรับบริการเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวเพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ อย่ างต่อเนื่ องมาโดยตลอด เชื้อพันธุ์ข้าวที่อนุรักษ์ไว้จึงมีปริมาณเมล็ ดลดลงเรื่อย ๆ ขณะเดียวกัน
ความงอกของเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวก็เสื่อมถอยลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา จึงจาเป็นต้องตรวจสอบเปอร์เซ็นต์
ความงอกและนาเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวที่มีความงอกต่าหรือมีปริมาณเมล็ดน้อยไปปลูกฟื้นฟู เพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์ข้าว
รุ่นใหม่ที่มีความงอกสูงและปริมาณพอเพียงแก่การให้บริการเพื่อการศึกษาวิจัย และใช้ประโยชน์
การปลู กฟื้น ฟูเชื้อพันธุกรรมข้าว โดยปกติจะดาเนินการเพาะเมล็ ด ตกกล้ า และปักดาเป็ นแถว
ในแปลงทดลอง อย่างไรก็ตาม พบว่าเชื้อพันธุกรรมข้าวส่วนหนึ่งมีเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ามาก รวมทั้งมีปริมาณ
เมล็ ดน้ อยมาก ทาให้ มีโ อกาสเสี่ย งสูงที่เชื้อพันธุ์ข้าวนั้นจะสูญพันธุ์ไปหากนาออกปลูกฟื้นฟูหรือขยายพันธุ์
ในสภาพแปลงปลู กโดยตรง จากปั ญหาดังกล่าวจึงมีแนวคิดในการนาวิธีการเพาะเลี้ ยงเมล็ ดข้าวในสภาพ
ปลอดเชื้อมาใช้ฟื้นฟูเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวที่ไม่งอก หรืองอกแต่ไม่สามารถพัฒนาเป็นต้นกล้าที่ปกติเนื่องจากอาหาร
สะสมในเมล็ดไม่เพียงพอ เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของเชื้อพันธุกรรมข้าวจากการนาออก
ปลูกฟื้นฟูในสภาพแปลงทดลอง และนาเทคนิค Rapid Clonal Propagation มาใช้เพิ่มจานวนหน่ออย่างรวดเร็วด้วย
เพื่อรักษาทรัพยากรพันธุกรรมข้าวให้มีความยั่งยืนตลอดไป
จากการประเมินลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อพันธุ์ข้าวมาอย่างต่อเนื่อง ทาให้ได้ข้อมูลลักษณะ
ประจาพันธุ์จานวนมาก ศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติได้รวบรวมข้อมูลมาจัดทาฐานข้อมูล
เชื้อพันธุกรรมข้าว และให้บริการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตแก่นักวิชาการ นักปรับปรุงพันธุ์ และบุคคลทั่วไป
ที่ ต้ อ งการค้ น หาพั น ธุ์ ข้ า วซึ่ ง มี ลั ก ษณะที่ เ หมาะสมส าหรั บน าไปใช้ ศึ กษา วิ จั ย และพั ฒนาพั นธุ์ ฐานข้ อมู ล
เชื้อพันธุกรรมข้าวนี้ได้ผ่านการทดสอบระบบและใช้งานมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓ อย่างไรก็ตาม ยังคงขาดข้อมูล
ด้านคุณค่าลักษณะของเชื้อพันธุ์ข้าวอยู่อีกมาก โดยเฉพาะข้อมูลคุณภาพเมล็ด ความต้านทานต่อโรคและแมลง
ศัตรูข้าวที่สาคัญ ๆ ความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม ตลอดจนข้อมูลพื้นฐานทางพันธุกรรมของ
เชื้อพันธุ์ข้าว ดังนั้น จึงมีความจาเป็นต้องดาเนินการศึกษาและประเมินคุณค่าของเชื้อพันธุ์ข้าวเพิ่มเติม เพื่อให้
ได้ขอ้ มูลที่สามารถจะนาไปใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น
๑๔๗

ข้อมูลพันธุ์ข้าวของธนาคารเชื้อพันธุ์ข้าว
๑) รายละเอียดเชื้อพันธุ์ข้าวที่จัดเก็บในธนาคารเชื้อพันธุ์ข้าว
มีจานวนเชื้อพันธุ์ข้าวทั้งสิ้น ๒๔,๘๕๒ เชื้อพันธุ์ รายละเอียดการให้บริการเมล็ ดพันธุ์ข้าว
แก่หน่วยงาน นักวิชาการและผู้สนใจ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๓)
๑ มกราคม ๒๕๖๑ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๑
ลาดับ ชื่อหน่วยงานที่ขอรับบริการ จานวน/ครั้ง จานวน/เชื้อพันธุ์
๑ ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร ๒ ๑๘๒
๒ ศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรีอยุธยา ๑ ๓๖
๓ กองวิจัยและพัฒนาข้าว ๑ ๘๘
๔ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาเขต ๑ ๒๒
บางเขน)
๕ มหาวิทยาลัยบูรพา ๑ ๖๔
๖ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ๑ ๑
รวม ๗ ๓๙๓
๑ มกราคม ๒๕๖๒ ถึง ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒
๑ กองวิจัยและพัฒนาข้าว ๑ ๔๘
๒ ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา ๔ ๑๐
๓ ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย ๑ ๑
๔ ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ๓ ๕
๕ ศูนย์วิจัยข้าวพระนครศรีอยุธยา ๑ ๑๓
๖ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ๑ ๓๑
๗ ศูนย์วิจัยข้าวราชบุรี ๑ ๖
๘ ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี ๑ ๑๒
๙ ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร ๑ ๔
๑๐ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง ๑ ๒
๑๑ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ๑ ๗
๑๒ คุณกัลย์ฐิตา สวงโท ๑ ๑
๑๓ สหกรณ์คลองโยง ๑ ๑
๑๔ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ๑ ๒๓
รวม ๑๙ ๑๖๔
๒) รายละเอียดการตรวจสอบเปอร์เซ็นต์ความงอกและการปลูกฟื้นฟู
(๑) ดาเนิ นการทดสอบความงอก ตั้งแต่เดือนมีนาคม ๒๕๖๑ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ทั้งสิ้น ๒,๘๘๙ เชื้อพันธุ์
(๒) ดาเนินการปลูกฟื้นฟูที่ศูนย์วิจัยข้าวต่าง ๆ ปี ๒๕๖๑ ทั้งสิ้น ๑๗ ศูนย์วิจัย จานวน ๕,๑๖๐
เชื้อพันธุ์ ปี ๒๕๖๒ ปลูกฟื้นฟูทั้งสิ้น ๑๗ ศูนย์วิจัย จานวน ๔,๐๘๐ เชื้อพันธุ์
๑๔๘

๓) ผลการดาเนินงานศึกษาวิจัยพันธุ์ข้าว (การประเมินลักษณะและคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าว)
รายละเอียดเชื้อพันธุ์ข้าวที่ดาเนินการประเมินลักษณะและคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าวแล้วเสร็จ
(๑) การประเมิ น ลั ก ษณะและคุ ณค่ า ของเชื้อ พั นธุ ก รรมข้ าว ฤดู น าปี ๒๕๖๑ ดาเนิน การ
ประเมินคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าว ได้แก่ ความต้านทานโรคและแมลงศัตรูข้าวที่สาคัญ เช่น โรคขอบใบแห้ง
โรคใบหงิก ใบหงิกและใบเขียวเตี้ย โรคไหม้ โรคไหม้คอรวง เพลี้ยกระโดดสีน้าตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว
เพลี้ ย จั ก จั่ น สี เ ขี ย ว เพลี้ ย จั ก จั่ น ปี ก ลายหยั ก แมลงบั่ ว หนอนกอ ประเมิ น ลั ก ษณะการทนแล้ ง ทนเค็ ม
ความสามารถขึ้นน้าและทนน้าท่วม ตลอดจนการวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดทางกายภาพและเคมี โดยมีผู้ร่วม
ดาเนินการ ได้แก่ศูนย์วิจัยข้าวทั้งสิ้น ๑๘ ศูนย์วิจัย รวมเชื้อพันธุ์ที่ได้รับการประเมินทั้งสิ้น ๘,๙๕๔ เชื้อพันธุ์
(๒) การประเมิ น ลั กษณะและคุ ณค่ าของเชื้ อพั นธุ กรรมข้ าว ฤดู นาปี ๒๕๖๒ ด าเนิ นการ
ประเมินคุณค่าของเชื้อพันธุกรรมข้าวเช่นเดียวกั บปี ๒๕๖๑ ดาเนินการที่ศูนย์วิจัยข้าวทั้งสิ้ น ๑๘ ศูนย์วิจัย
รวมเชื้อพันธุ์ที่ได้รับการประเมินทั้งสิ้น ๘,๒๖๐ เชื้อพันธุ์
๔) โครงการความร่วมมือกับต่างประเทศ
(๑) การนาเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวไปเก็บรักษาที่ธนาคารเชื้อพันธุ์พืชโลก (Svalbard Global Seed
Vault) ราชอาณาจักรนอร์เวย์ ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ จานวนทั้งสิ้น ๖๘ เชื้อพันธุ์
(๒) ร่วมประชุมร่างโครงการการทดลองความมีชีวิตของเมล็ดพันธุ์พืช ๑๐๐ ปี ณ ราชอาณาจักร
นอร์เวย์ ในวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
๕) ข้อจากัดของศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติ
(๑) ข้อจากัดเรื่องพื้นที่ในการปลูกขยายและฟื้นฟูเมล็ดพันธุ์ข้าว
(๒) ข้อจากัดเรื่องครุภัณฑ์ห้องเย็นในการเก็บรักษา เนื่องจากเป็นครุภัณฑ์เก่าอายุเกือบ ๔๐ ปี
มีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสูงมาก
(๓) ข้อจากัดในการให้บริการเมล็ดพันธุ์ เนื่องจากมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความสนใจ
ขอใช้บริการเมล็ดพันธุ์จากศูนย์ฯ แต่ทางศูนย์ไม่สามารถผลิตและขยายเมล็ดพันธุ์ได้อย่างเพียงพอ
(๔) ศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดเชื้อพันธุ์ข้าว เป็นผู้ดูแล ปลูกขยายและฟื้นฟู และให้บริการ
แก่ ผู้ ส นใจทั้ ง ภาครั ฐ ภาคเอกชนและเกษตรกร แต่ ไ ม่ ไ ด้มี อ านาจในการก ากั บ ดู แ ลการใช้ ป ระโยชน์ ข อง
พันธุกรรมข้าว ซึ่งหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ กรมวิชาการเกษตร เป็นผู้กากับดูแล
๑๔๙

กรมวิชาการเกษตร
กรมวิชาการเกษตรได้รวบรวมข้อมูลและตัวอย่างความหลากหลายด้านพืช และเห็ดในหน่วยงาน
ต่าง ๆ ดังนี้
หน่วยงานของกรมวิชาการเกษตรที่ดูแล จานวน
๑. ธนาคารเชื้อพันธุ์พืช สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ๓๒,๙๑๗ เชื้อพันธุ์
ดาเนินการอนุรักษ์ความหลากหลายทางพันธุกรรมพืช เพื่อเป็น
หลักประกันความมั่นคงทางอาหารของประเทศ
๒. กองแผนงานและวิชาการ ดูแลฐานข้อมูลพันธุ์พืชรับรองและพันธุ์ ๓๑๘ พันธุ์
แนะนาของกรมวิชาการเกษตร
๓. พิพิธภัณฑ์พืชกรุงเทพ สานักคุ้มครองพันธุ์พืช มากกว่า ตัวอย่าง
ฐานข้อมูลความหลากหลายของพืชและตัวอย่างพันธุ์ไม้ ในรูป ๑๐๐,๐๐๐
ตัวอย่างพันธุ์ไม้แห้ง พันธุ์ไม้ดอง และตัวอย่างผลและเมล็ด
๔. กลุ่มวิจัยอนุสัญญาไซเตสด้านพืช สานักคุ้มครองพันธุ์พืช ๖,๐๐๐ ชนิดพืช
ฐานข้อมูลพืชอนุรักษ์ภายใต้อนุสัญญาไซเตส
๕. กลุ่มวิจัยการคุ้มครองพันธุ์พืช สานักคุ้มครองพันธุ์พืช ฐานข้อมูล ๑๐,๙๕๒ พันธุ์
พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชขึ้นทะเบียน และพันธุ์พืชใหม่
๖. ศูนย์วิจัยของกรมวิชาการเกษตรในพื้นที่จังหวัดต่าง ๆ ๑๙,๒๑๙ ตัวอย่าง
ข้อมูลและตัวอย่างพันธุ์พืชสวน-พืชไร่ เช่น
- ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง อนุรักษ์พันธุ์มันสาปะหลังในแปลงปลูก
๘๕๙ สายพันธุ์ และอนุรักษ์ในห้องปฏิบัติการโดยการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยือ่ ๘๐๐ สายพันธุ์
- ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี อนุรักษ์พันธุ์ไม้ผล เช่น ทุเรียน เงาะ
- ศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษ อนุรักษ์พันธุ์พืชผักและไม้ดอก
๗. กลุ่มวิจัยและพัฒนาเห็ด สานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ประมาณ เชื้อพันธุ์
อนุรักษ์เก็บรักษาเชื้อพันธุ์เห็ด ๑,๐๐๐
กรมวิชาการเกษตรมีโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลของกรมฯ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าว เพื่อการใช้
ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ
ภาคผนวก ซ
ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เสนอโดย รองศาสตราจารย์สุรวิช วรรณไกรโรจน์
อนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุพ์ ืช
๑๕๑

บันทึกหลักการและเหตุผล
ประกอบร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุพืช (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ....
(เสนอโดย รองศาสตราจารย์สุรวิช วรรณไกรโรจน์ อนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช)
…………………………………………………………………………….

หลักการ

แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังต่อไปนี้


(๑) แก้ไขเพิ่มเติมบทนิยามคาว่า “พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป” และ "นักปรับปรุงพันธุพืช" และเพิ่มบท
นิยามคาว่า “พันธุ์พืชใหม่” (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๓)
(๒) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยองค์ประกอบของคณะกรรมการคุ้มครองพันธุ์พืช (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๕)
(๓) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยรายการในคาขอจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๑๙ (๕))
(๔) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิแต่เพียงผู้เดียวของผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชใหม่ (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๓๓)
(๕) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๔๔
มาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๗)
(๖) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปและพันธุ์พืชป่า (แก้ไขเพิ่มเติม
มาตรา ๕๒ และมาตรา ๕๓)
(๗) แก้ไขเพิ่มเติมบทบทบัญญัติว่าด้วยการใช้จ่ายเงินกองทุนคุ้มครองพันธุ์พืช (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๕)
(๘) แก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิของผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืช (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๖๑)
(๙) แก้ไขเพิ่มเติมบทกาหนดโทษ (แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๖๓/๑ และมาตรา ๖๔)

เหตุผล

โดยที่พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ใช้บังคับมาเป็นระยะเวลานาน สมควรแก้ไข


เพิ่มเติมบทบัญญัติบางประการให้มีความเหมาะสมกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้การบังคับใช้พระราชบัญญัติ
คุ้มครองพันธุ์พืชมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสให้ชุมชนตามพระราชบัญญัตินี้ กลุ่มเกษตรกร และ
สหกรณ์การเกษตร สามารถพัฒนาความเข้มแข็งด้านอนุรักษ์และพัฒนาพันธุ์พืชให้พร้อมในการที่ประเทศไทย
จะเข้าร่วมความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศ เพื่อแก้ปัญหาการใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
และเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ให้เป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อนชื้นของโลก
จึงจาเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
๑๕๒

ร่าง
พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ....

...................................................................................................................................................................
................................
โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพันธุ์พืช
.................................................................................................................................................................
................................
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า "พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป" และ "นักปรับปรุงพันธุ์พืช"
ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
"พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป" หมายความว่า พันธุ์พืชที่กาเนิดภายในประเทศหรือมีอยู่ในประเทศซึ่งได้มี
การใช้ประโยชนอย่างแพรหลาย และให้หมายความรวมถึงพันธุ์พืชที่ไม่ใช่พันธุ์พืชใหม่ พันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น
หรือพันธุ์พืชป่า แต่ไม่รวมถึงพันธุ์พืชที่นาเข้าและพันธุ์พืชในกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ ซึ่งยังอยู่ในความครอบครอง
ของนักปรับปรุงพันธุ์พืชเท่านั้น
"นักปรับปรุงพันธุ์พืช" หมายความว่า ผู้ซึ่งทาการปรับปรุงพันธุ์หรือพัฒนาพันธุ์จนไดพันธุ์พืชขึ้นใหม่
รวมทั้งทายาทผู้รับสิทธิในพันธุ์พืชโดยทางมรดกของผู้ซึ่งทาการปรับปรุงพันธุ์หรือพัฒนาพันธุ์จนไดพันธุ์พืช
ขึ้นใหม่
มาตรา ๔ ให้เพิ่มบทนิยามคาว่า “พันธุ์พืชใหม่” ระหว่างบทนิยามคาว่า “พันธุ์พืช” และ “พันธุ์พืช
พื้นเมืองเฉพาะถิ่น” ในมาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
“พันธุ์พืชใหม่” หมายความว่า พันธุ์พืชที่นักปรับปรุงพันธุ์ได้ทาการปรับปรุงพันธุ์หรือพัฒนาพันธุ์ขึ้น
โดยได้รับและยังไม่ถูกเพิกถอนหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนพันธุ์พืชใหม่ตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๕ ให้มีคณะกรรมการคุ้มครองพันธุ์พืช ประกอบด้วย ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป็นประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อธิบดีกรมการค้าภายใน อธิบดีกรมทรัพย์สินทางปัญญา อธิบดีกรมการข้าว
อธิบดีกรมประมง อธิบดีกรมป่าไม้ อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ผู้อานวยการศูนย์พันธุ์วิศวกรรมและ
เทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ประธานสภาเกษตรกร
และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งสิบสองคน ในจานวนนี้จะต้องแต่งตั้งจากเกษตรกร หกคน
นักวิชาการด้านปรับปรุงพันธุ์พืชจากสถาบันการศึกษา หนึ่งคน นักวิชาการด้านอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
จากสถาบันการศึกษา หนึ่งคน ผู้แทนองค์การพัฒนาเอกชนที่ไม่แสวงหากาไรที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับการเกษตร
หนึ่งคน ผู้แทนองค์การพัฒนาเอกชนที่ไมแสวงหากาไรที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
๑๕๓

หนึ่งคน ผู้แทนสมาคมที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์พืช หนึ่งคน ผู้แทนสมาคมที่มีวัตถุประสงค์


เกี่ยวกับการขยายพันธุ์และเมล็ดพันธุ์พืช หนึ่งคน เป็นกรรมการ และอธิบดีกรมวิชาการเกษตรเป็นกรรมการ
และเลขานุการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งเป็นเกษตรกร ต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์ด้านการอนุรักษ์พัฒนาหรือใช้
ประโยชน์จากพันธุ์พืชโดยให้คัดเลือกจากการเสนอชื่อของกลุ่ม ชมรม สมาคม กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์
การเกษตรของทุกภูมิภาค โดยต้องมีกรรมการจากภูมิภาคละอย่างน้อย หนึ่งคน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจาก
องค์การพัฒนาเอกชนที่ไม่แสวงหากาไรที่มีกิจกรรมเกี่ยวกับการเกษตรและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ตามวรรคหนึ่งให้คัดเลือกจากรายชื่อที่เสนอโดยองค์การพัฒนาเอกชนดังกล่าว
การคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการ ที่กาหนดในกฎกระทรวง”
มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๙ (๕) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และ
ให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๑๙ (๕) ข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ในกรณีที่มีการใช้พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไปหรือพันธุ์พืชป่า
หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพันธุ์พืชดังกล่าวในการปรับปรุงพันธุ์เพื่อแสวงหาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเหนือผลงาน
ที่จะเกิดจากการใช้พันธุ์พืชนั้น”
มาตรา ๗ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๓๓ ผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชใหม่มีสิทธิแต่เพียงผู้เดียวในการผลิต ให้เช่า ขาย จาหน่าย หรือ
กระทาการอื่นใดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า นาเข้ามาในราชอาณาจักร ส่งออกนอกราชอาณาจักร หรือมีไว้
เพื่อกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดดังกล่าวซึ่งส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ และของพันธุ์พืชที่เกิดจากพันธุ์พืชใหม่
แต่ไม่มีความแตกต่างจากพันธุ์พืชใหม่ในลักษณะซึ่งเกี่ยวข้องกับประโยชน์ต่อการเพาะปลูก การบริโภค
เภสัชกรรม การผลิต หรือการแปรรูป รวมถึงส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์ลูกผสมทีต่ ้องใช้พันธุ์พืชดังกล่าวในทุกครั้ง
หรือทุกวงจรการผลิต
ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่กรณีดังต่อไปนี้
(๑) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ โดยไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์
(๒) การศึกษา ค้นคว้า ทดลองหรือวิจัยเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ เพื่อปรับปรุงพันธุ์หรือพัฒนา
พันธุ์พืช
(๓) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่ ซึ่งกระทาโดยสุจริต
(๔) การเพาะปลูกหรือแลกเปลี่ยนส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ โดยเกษตรกรซึ่งเป็นบุคคล
ธรรมดา ด้วยการใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ตนเองเป็นผู้ผลิต แต่ไม่รวมถึงการเพาะปลูกเพื่อจาหน่ายส่วนขยายพันธุ์
เชิงการค้า ในกรณีที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้พันธุ์พืชใหม่นั้นเป็นพันธุ์พืชที่ควร
ส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์ ให้เกษตรกรซึง่ เป็นบุคคลธรรมดาสามารถเพาะปลูกหรือแลกเปลี่ยนส่วนขยายพันธุ์
ได้รวมกันในแต่ละฤดูปลูก ไม่เกินสามเท่าของปริมาณที่ได้มา
(๕) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชใหม่โดยไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า
(๖) การขาย หรือการจาหน่ายด้วยประการใด นาเข้ามาในราชอาณาจักรส่ง ออกนอก
ราชอาณาจักร หรือมีไว้เพื่อกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใด ซึ่งส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชใหม่ซึ่งถูกนาออกจาหน่าย
โดยผู้ทรงสิทธิหรือด้วยความยินยอมของผู้ทรงสิทธิ”
๑๕๔

มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้


ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๔๔ บุคคลซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว ที่ตั้งถิ่นฐานและสืบทอดระบบวัฒนธรรมรวมกันมา
โดยต่อเนื่อง ซึ่งได้รว่ มกันอนุรักษ์หรือพัฒนาพันธุ์พืช อาจขอขึ้นทะเบียนเป็นชุมชนตามพระราชบัญญัตินี้
โดยตั้งตัวแทนยื่นคาขอเป็นหนังสือต่อผู้วา่ ราชการจังหวัดแห่งท้องที่
คาขออย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(๑) พันธุ์พืชที่ร่วมกันอนุรักษ์หรือพัฒนา และวิธีดาเนินการในการอนุรักษ์หรือพัฒนาพันธุ์พืช
(๒) รายชื่อของผู้เป็นสมาชิกชุมชน
(๓) สภาพพื้นที่พร้อมทั้งแผนที่สังเขปแสดงเขตพื้นที่ชุมชนและเขตติดต่อ
การยื่นคาขอและการพิจารณาอนุมัติขึ้นทะเบียนชุมชนให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนด
ในกฎกระทรวง”
มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๔๕ พันธุ์พืชที่มีอยู่เฉพาะในท้องที่ใดและชุมชนเป็นผู้อนุรักษ์ หรือพัฒนาพันธุ์พืชดังกล่าว
แต่ผู้เดียว ให้ชุมชนนั้นมีสิทธิยื่นคาร้องต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ชุมชนนั้นตั้งอยู่ในเขตปกครองให้ดาเนินการ
ยื่นคาขอจดทะเบียนพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นแทนชุมชนดังกล่าวได
เมื่อไดรับคาร้องจากชุมชนตามวรรคหนึ่ง ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการขอจดทะเบียน
พันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิน่ ต่อคณะกรรมการนับแต่วันที่ไดรับเอกสารและข้อมูลที่จาเป็นในการขอจดทะเบียน
ครบถ้วน
ในกรณีที่ชุมชนตามวรรคหนึ่งรวมตัวกันจัดตั้งเป็นกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งกลุ่ม
เกษตรกร หรือเป็นสหกรณ์การเกษตรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ให้กลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ์การเกษตรนั้น
มีสิทธิขอจดทะเบียนคุม้ ครองพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นแทนชุมชนได้”
มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๗ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๔๗ เมื่อไดจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นของชุมชนใดแล้วให้ชุมชนนั้น
มีสิทธิแต่ผู้เดียวในการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา คนคว้า ทดลอง วิจัย ผลิต ให้เช่า ขาย จาหน่าย หรือกระทาการอื่นใด
ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า สงออกนอกราชอาณาจักร ซึ่งส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น และ
ของพันธุ์พืชที่เกิดจากพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นแต่ไม่มีความแตกต่างจากพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นในลักษณะซึ่ง
เกี่ยวข้องกับประโยชน์ต่อการเพาะปลูก การบริโภค เภสัชกรรม การผลิต หรือการแปรรูป ทั้งนี้ ให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น กลุม่ เกษตรกรหรือสหกรณ์ที่ได้รับหนังสือสาคัญแสดงการจดทะเบียนพันธุ์พื้นเมืองเฉพาะถิ่น
เป็นผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นนั้นแทนชุมชนดังกล่าว
ความในวรรคหนึ่งไมใช้บังคับแกกรณีดังต่อไปนี้
(๑) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นที่ไดรับความคุ้มครอง โดยไมมีวัตถุประสงค์
เพื่อใช้เป็นส่วนขยายพันธุ์
(๒) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นที่ไดรับความคุ้มครอง ซึ่งกระทาโดยสุจริต
(๓) การเพาะปลูกหรือแลกเปลี่ยนส่วนขยายพันธุ์ของพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นที่ไดรับความคุ้มครอง
โดยเกษตรกรซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา ด้วยการใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ตนเองเป็นผู้ผลิต แต่ไม่รวมถึงการเพาะปลูก
๑๕๕

เพื่อจาหน่ายส่วนขยายพันธุ์เชิงการค้า ในกรณีที่รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประกาศให้
พันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นนั้นเป็นพันธุ์พืชที่ควรส่งเสริมการปรับปรุงพันธุ์ ให้เกษตรกรซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา
สามารถเพาะปลูกหรือแลกเปลี่ยนส่วนขยายพันธุ์ได้รวมกันในแต่ละฤดูปลูก ไม่เกินสามเท่าของปริมาณที่ได้มา
(๔) การกระทาเกี่ยวกับพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่นที่ไดรับความคุ้มครองโดยไมมีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า”
มาตรา ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๕๒ ผู้ใดประสงค์จะได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิการใช้ประโยชน์ โดยการ ซือ้ เก็บหา จัดหา
เช่า หรือวิธีอื่นใด ซึ่งพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า หรือพันธุ์พืชที่เกิดจากพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า
ซึ่งมีลักษณะประจาพันธุ์ที่สาคัญไม่แตกต่างจากพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า หรือส่วนหนึ่งส่วนใด
ของพันธุ์พืชดังกล่าว เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรือวิจัยเพื่อแสวงหาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
เหนือผลงานที่จะเกิดขึ้น โดยได้รับความยินยอมให้กระทาการดังกล่าวจากเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือสิทธิ
การใช้ประโยชน์ จะต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่และทาข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ โดยให้นาเงิน
รายได้ตามข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ส่งเข้ากองทุนคุ้มครองพันธุ์พืช ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการ
และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
ข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์อย่างน้อยต้องมีรายการดังต่อไปนี้
(๑) วัตถุประสงค์ของการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรือวิจัยด้วยพันธุ์พืช
(๒) จานวนหรือปริมาณของตัวอย่างพันธุ์พืชที่ต้องการ
(๓) ข้อผูกพันของผู้ได้รับอนุญาต
(๔) การกาหนดความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาในผลงานการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรือ
วิจัยที่ได้มาจากการใช้พันธุ์พืชในข้อตกลง
(๕) การกาหนดจานวน อัตรา และระยะเวลาการแบ่งปันผลประโยชน์ตามข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์
ในผลงานที่ได้มาจากการใช้พันธุ์พืชในข้อตกลง
(๖) อายุของข้อตกลง
(๗) การยกเลิกข้อตกลง
(๘) การกาหนดวิธีการระงับข้อพิพาท
(๙) รายการอื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง”
มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๕๓ ผู้ใดได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์หรือสิทธิการใช้ประโยชน์ โดยการ ซือ้ เก็บหา จัดหา เช่า หรือวิธี
อื่นใด ซึ่งพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า หรือพันธุ์พืชที่เกิดจากพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า ซึ่งมีลักษณะ
ประจาพันธุ์ที่สาคัญไม่แตกต่างจากพันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของพันธุ์พืชดังกล่าว
เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ ศึกษา ทดลอง หรือวิจัยทีม่ ิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาสิทธิในทรัพย์สิน
ทางปัญญาเหนือผลงานที่จะเกิดขึน้ โดยได้รับความยินยอมให้กระทาการดังกล่าวจากเจ้าของกรรมสิทธิ์
หรือเจ้าของสิทธิการใช้ประโยชน์ ให้ปฏิบัติตามระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด
ผู้ใดกระทาการตามวรรคหนึ่ง ที่จะเปลี่ยนวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหาสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
เหนือผลงานที่จะเกิดจากการใช้พันธุ์พืชนั้น ให้ขอรับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่และทาข้อตกลงแบ่งปัน
๑๕๖

ผลประโยชน์ โดยให้นาเงินรายได้ตามข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์ส่งเข้ากองทุนคุ้มครองพันธุ์พืช ทั้งนี้


ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวงตามมาตรา ๕๒ ภายในระยะเวลาที่กาหนด”
มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๕๕ เงินกองทุนให้ใช้จา่ ยเพื่อกิจการดังต่อไปนี้
(๑) ช่วยเหลือและอุดหนุนกิจการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ การวิจัย และการพัฒนาพันธุ์พืชของชุมชน
กลุม่ เกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร
(๒) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้เพื่ออุดหนุนการอนุรักษ์ การวิจัย และการพัฒนาพันธุ์พืชของชุมชน
กลุม่ เกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร
(๓) เป็นค่าใช้จา่ ยในกระบวนการคัดค้านกรณีที่มีผู้ยื่นขอจดทะเบียนคุ้มครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา
เหนือพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น พันธุ์พืชพื้นเมืองทั่วไป พันธุ์พืชป่า ในต่างประเทศ
(๔) เป็นค่าใช้จา่ ยในการบริหารกองทุน
การบริหารกองทุนและการควบคุมการใช้จา่ ยเงินกองทุน ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการ
กาหนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง”
มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๖๑ ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนสิทธิของผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชใหม่หรือผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชพื้นเมือง
เฉพาะถิ่นตามมาตรา ๓๓ หรือมาตรา ๔๗ แล้วแต่กรณี ศาลมีอานาจสั่งให้ผู้ฝ่าฝืนชดใช้ค่าเสียหายแกผู้ทรงสิทธิ
ตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรโดยคานึงถึงความร้ายแรงของความเสียหาย รวมทั้งการสูญเสียผลประโยชน
และค่าใช้จา่ ยอันจาเป็นในการบังคับตามสิทธิของผู้ทรงสิทธิด้วย ให้ภาระการพิสูจน์ในข้อกล่าวหาดังกล่าว
ตกอยู่แก่ผู้ทรงสิทธิในพันธุ์พืชนั้น”
มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๖๓/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
“มาตรา ๖๓/๑ พนักงานเจาหน้าที่ผู้ใดซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวกับการอนุญาตและทาข้อตกลงแบ่งปันผลประโยชน์
เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และกระบวนการปรับปรุงพันธุ์พืช ศึกษา ทดลอง หรือวิจัย ตามมาตรา ๕๒
หรือมาตรา ๕๓ โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือมิไดรับความยินยอมจากผู้ขอจดทะเบียน ตองระวางโทษจาคุก
ไมเกินสองปี หรือปรับไมเกินสี่แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๖๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ และให้
ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๖๔ ผู้ใดกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งตามมาตรา ๔๗ โดยไมไดรับอนุญาตจากผู้ทรงสิทธิ
ในพันธุ์พืชพื้นเมืองเฉพาะถิ่น ตองระวางโทษจาคุกไมเกินสองปี หรือปรับไมเกินสี่แสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ”
มาตรา ๑๗ คาขอจดทะเบียนคุ้มครองพันธุ์พืชที่ไดยื่นไวตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
และยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา ให้ถือว่าเป็นคาขอจดทะเบียนคุม้ ครองพันธุ์พืชตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง
พันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๑๘ ใบขึ้นทะเบียนชุมชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งออกให้ก่อน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าเป็นใบขึ้นทะเบียนชุมชนตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒
ซึง่ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้
๑๕๗

มาตรา ๑๙ กฎกระทรวงที่ออกตามมาตรา ๕๒ และระเบียบที่คณะกรรมการกาหนดที่ออกตามมาตรา ๕๓


แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช้บังคับ ให้คง
ใช้บังคับไดต่อไปเท่าที่ไมขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง และ
ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด ออกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไขเพิ่มเติม
โดยพระราชบัญญัตินี้ในเรื่องนั้น ๆ ใช้บังคับ
มาตรา ๒๐ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ผู้สนองพระบรมราชโองการ

..............................................
นายกรัฐมนตรี
ภาคผนวก ฌ
แผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ขา้ ว
๑๕๙

แผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ข้าว
ข้าวเป็นพืชเกษตรที่เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยมาเป็นเวลานาน เป็นพืชเกษตรที่ สาคัญซึ่งสร้าง
ชื่อเสียงให้กับประเทศในระดับโลก ทั้งในฐานะประเทศที่มีข้าวพันธุ์ดีระดับแชมป์โลก เช่น พันธุ์ปิ่นแก้ว และพันธุ์ข้าว
ดอกมะลิ๑๐๕ เป็นต้น และในฐานะประเทศผู้ส่งออกอันดับต้นของโลก
การที่ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกข้าวมากกว่าร้อยละ ๖๕ ของพื้นที่เกษตรกรรมทั้งประเทศ สร้างรายได้
เป็นเงินตราต่างประเทศเป็นจานวนมาก แต่ ฐานะทางเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวส่วนใหญ่ไม่สู้ดี เนื่องจาก
พื้นที่นาส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชลประทานและเสี่ยงต่อภัยธรรมชาติ รัฐบาลจึงต้องดูแลกระบวนการผลิตและราคาข้าว
มาโดยต่อเนื่ อง ดังนั้ น การสร้ างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และเมล็ ดพันธุ์ข้าวซึ่งเป็นปัจจัยการผลิ ต เบื้ องต้น จึงมี
ความจ าเป็น ต่อความมั่น คงแก่เกษตรกรในการผลิตข้าว การยกระดับรายได้ของเกษตรกร ตลอดจนการรักษา
ความเป็นผู้นาด้านการผลิตข้าวระดับโลก เป็นอย่างมาก
เพื่ อ ให้ ก ารสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ด้ า นพั น ธุ์แ ละเมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า ว กรมการข้ า วจึ ง จั ด ทาแผนกลยุ ท ธ์ ภ ายใต้
แผนยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ๒๐ ปี โดยอาศั ย ข้ อ ได้ เ ปรี ย บที่ ป ระเทศไทยเป็ น ถิ่ น ก าเนิ ด ของข้ า ว จึ ง มี ค วามสมบู ร ณ์
และความหลากหลายของพันธุ์ข้าว กรมการข้าวมีจุดแข็งที่ได้รวบรวมพันธุ์ข้าวพื้นเมืองกว่า ๒๔,๘๕๒ ตัวอย่าง
ไว้ ใ นธนาคารเชื้ อ พั น ธุ ก รรม และมี นั ก วิ จั ย ที่ มี ป ระสบการณ์ แ ละขี ด ความสามารถ สู ง ด้ า นการปรั บ ปรุ ง พั น ธุ์
และด้านเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์อยู่จานวนหนึ่ง ตลอดจนมีเครือข่ายศูนย์ข้าวชุมชนในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวกระจายอยู่
ทั่วประเทศอีกจานวนหนึ่ง แม้มีจุดด้อยที่ได้รับงบประมาณในด้านที่เกี่ยวข้องลดลงและถูกลดกรอบอัตรากาลังลงก็ตาม
หากแผนกลยุ ทธ์นี้ไ ด้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลเพื่อเสริมจุดแข็งและลดจุดด้อยของกรมการข้าว ประเทศไทย
จะสามารถเป็นแหล่งผลิตข้าวที่มูลค่าสูง เกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวจะมี รายได้สูงขึ้นทั้งจากการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
ช่วงนาปีในพื้นที่ซึ่งทานาได้ปีละ ๑ ครั้ง และจากการผลิตข้าวเปลือกพันธุ์ที่มีมูลค่าการตลาดสูง ทาให้อาชีพการผลิตข้าว
มีความมั่นคงมากขึ้น เป็นที่สนใจแก่เกษตรกรยุคใหม่ ทั้งนี้ ได้แบ่งแผนกลยุทธ์เป็น ๒ แผนงาน ได้แก่
๑) แผนงานการใช้ ป ระโยชน์ จ ากเชื้ อ พั น ธุ ก รรมข้ า วพื้ น เมื อ ง เป็ น แผนปฏิ บั ติ ก ารที่ จ ะใช้ ป ระโยชน์
จากพันธุ์ข้าวพื้นเมืองในธนาคารเชื้อพันธุกรรมมาพัฒนาเป็นพันธุ์ข้าวที่มีมูลค่าการตลาดสูง และมีคุณค่าทางการเกษตร
เป็นแผนงานต่อเนื่องระยะ ๑๐ ปี ประกอบด้วย ๒ แผนปฏิบัติการ คือ
ก) แผนปฏิบัติการพัฒนาพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
ข) แผนปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์ข้าวพันธุ์ผสมเพื่อเพิ่มคุณค่าทางพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง
๒) แผนงานการเพิ่มปริมาณเมล็ ดพันธุ์จาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง เป็นแผนปฏิบัติการที่จะเพิ่ม
สัดส่วนการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรสามารถซื้อเมล็ดพันธุ์ข้าวเพื่อนาไปเพาะปลูกได้
ในราคาที่เหมาะสม เป็นแผนงานต่อเนื่องระยะ ๕ ปี ประกอบด้วย ๓ แผนปฏิบัติการ คือ
ก) แผนปฏิบัติการเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์คัดและเมล็ดพันธุ์หลัก
ข) แผนปฏิบัติการเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่าย
ค) แผนปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์ข้าวชุมชน
๑๖๐

แผนงานการใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง
*************************
ด้วยศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดพันธุ์เชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติ กรมการข้าว มีการเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรมข้าว
ไว้เป็ นจ านวนมากกว่า ๒๐,๐๐๐ ตัว อย่ าง ซึ่งเชื้อพันธุกรรมเหล่ านั้นมีศักยภาพในการนามาใช้พัฒนาพันธุ์ข้าว
ให้มีลักษณะดีเด่นเป็นที่ต้องการของเกษตรกร และกระตุ้นความต้องการของผู้บริโภคเพื่อเพิ่มมูลค่าการตลาดได้อีก
เป็นจานวนมาก จึงควรนาเชื้อพันธุกรรมเหล่านั้นมาพัฒนาให้เร็วที่สุด ซึ่งจะช่วยให้เกษตรกรไทยมีรายได้เพิ่มสูงขึ้น
อย่างยั่งยืนต่อไป
๐๑ แผนปฏิบัติการพัฒนาพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองเป็นอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
แผนปฏิบัติการนี้มีเป้าหมายในการจัดทาพิมพ์เขียวข้าวพื้นเมืองในทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทย จานวน
๑๐๐ สายพันธุ์ เพื่อเร่งรัดพันธุ์ที่มีศักยภาพในการขึ้นทะเบียนพันธุ์ตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช และส่งเสริมให้
กลุ่มชาวนาผลิตข้าวสารคุณภาพสูงเป็นสินค้าพื้นเมืองเชิงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น และการเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ์ไว้ใช้เอง
อย่างยั่งยืน
พันธุ์ข้าวพื้นเมืองในเชิงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น จานวน ๑๐๐ พันธุ์ มี ๓ กลุ่มพันธุ์ ดังนี้

กลุ่มที่ ๑ กลุ่มข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่ใช้ในโครงการส่งเสริมและพัฒนาตราสินค้า ข้าวสาหรับตลาดเฉพาะ


ภาค ศูนย์ พันธุ์ข้าว
ภาคกลาง ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี เจ๊กเชยกาบม่วง
ภาคเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง บือพะโดะ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร์ มะลิแดง ปะกาอาปึล เม็ดเล็ก สามเกลอ
ศูนย์วิจัยข้าวชุมแพ เม็ดล้าน หางปลาไหล
ศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น พญาลืมแกง ซิวเกลี้ยง
ภาคใต้ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง หอมไชยา
๑๖๑

กลุ่มที่ ๒ กลุ่มข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่ได้รับความนิยมในพื้นที่
ภาค ศูนย์ พันธุ์ข้าว
ภาคเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ ขาวภูฟ้า
ศูนย์วิจัยข้าวเชียงใหม่ บือตะคี บือแม้ว บือคูได้
ศูนย์วิจัยข้าวสะเมิง บือโปะโละ บือซอมี ข้าวขาว
ศูนย์วิจัยข้าวแม่ฮ่องสอน ละอูบ บือโปะโละ (แม่นาจางเหนือ)
เฟืองคา เจ้าดา (แม่อูคอ)
ศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย หอมแม่จัน อีโต
ภาคกลาง ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก หอมลูกรัง
ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เหลืองดง หอมกระจุย
ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี หอมกุหลาบ
ศูนย์วิจัยข้าว ขาวสมุทร
พระนครศรีอยุธยา
ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี เหลืองทอง (ขึ้นน้า) ขาวหลวง (ขึ้นน้า)
ขาวหลวง (น้าลึก) เหลืองรวย (ขึ้นน้า)
พญาทองดา (นาสวน)
ศูนย์วิจัยข้าวราชบุรี เหลือง ๑๑ (ราชบุรี) เหลืองอ่อน
ศูนย์วิจัยข้าวฉะเชิงเทรา หอมจันทร์ เล็บมือนาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี หอมทุ่ง เล้าแตก
ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร เหลือง ๑๑ (สกลนคร) ขี้ตมหอม
หอมนางนวล เหนียวดาก่าน้อย ก่าใบ
เขียว ข้าวเหนียวแดง
ศูนย์วิจัยข้าวชุมแพ ข้าวเจ้าลอยอีสาน (ขึ้นน้า) หอมดง
ศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น ข้าวเหนียวดา (อาเภอโกสุมพิสัย) ข้าวดอ
(อาเภอบรบือ กุดรัง นาเชือก)
ศูนย์วิจัยข้าวอุดรธานี หอมอุดม เจ้าแดง (บ้านทุ่ม) สันประหลาด
ก่าบ้านผือ
ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา เศรษฐี (น้าลึก)
ภาคใต้ ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง หอมจันทร์ ช่อขิง หน่วยเขือ
ศูนย์วิจัยข้าวนครศรีธรรมราช กาบดา ลูกหวาย
ศูนย์วิจัยข้าวกระบี่ หอมหัวบอน หอมเจ็ดบ้าน
๑๖๒

กลุ่มที่ ๓ กลุ่มข้าวพันธุ์พื้นเมืองตามบัญชีฐานข้อมูลเดิมของทะเบียนเกษตรกร (ทบก. ปี ๒๕๖๐)


กรมส่งเสริมการเกษตร และอื่น ๆ
ภาค ศูนย์ พันธุ์ข้าว
ภาคเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก บือการา บือบอ บือวา (บือวาจก)
บือน่อโพ (บือก่อโพ) บือแขะ (แม่ระมาด)
ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี ขาวชะลอ (หล่มสัก)
ภาคกลาง ศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ข้าวขาว (คลองหก) ขาวลอย (หนองเสือ)
หอมมะลิแดง (คลองห้า)
ศูนย์วิจัยข้าว หลวงประทาน (เกาะเรียน) สามพราน ๑
พระนครศรีอยุธยา (บ้านกลึง) พรสวรรค์ (บ้านกุ่ม) พวงทอง
(ข้าวน้าลึก) ขาวชัยนาท (ขึ้นน้า) ชมทุ่ง
(ขึ้นน้า) หอมทุ่ง (ขึ้นน้า) พวงเบา (ขึ้นน้า)
พวงหนัก (ขึ้นน้า) ก้อนแก้ว (ขึ้นน้า)
ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี เขียวใหญ่ (ขึ้นน้า) ขาวบารุง (ขึ้นน้า)
เหลืองอมร (ขึ้นน้า) ทองมาเอง (ขึ้นน้า)
มะลิใหญ่ (ขึ้นน้า) ขาวห้าร้อย (ขึ้นน้า)
ล้นยุ้ง
ศูนย์วิจัยข้าวลพบุรี เหลืองเกษตร (ชัยบาดาล/เมือง)
ข้าวเหลือง (ชัยบาดาล) อ่อนเหลือง
(ชัยบาดาล) ขาวญวน (ชัยบาดาล)
ข้าวน้าย้อย (ชัยบาดาล)
ศูนย์วิจัยข้าวราชบุรี มะลิป่า (ข้าวไร่) หยาดฟ้า (ข้าวไร่) อียามี
(ข้าวไร่) บางกอก (ข้าวไร่) ลูกผึ้ง (ข้าวไร่)
มาลัย มะลิใหญ่
ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี ปลดหนี้ (รอดหนี้)
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา ขาวพระเทพ ข้าวบาเล่ย์ ข้าวจิ๊บ
ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร์ เหลืองบุญมา เนียงกวง (นางคง)
บองกษัตริย์
ศูนย์วิจัยข้าวร้อยเอ็ด ข้าวเหนียวแดง
ศูนย์วิจัยข้าวขอนแก่น อีลาว หอมใบเตย (หอมใบเตย ๖๒)
ศูนย์วิจัยข้าวสกลนคร อีเขียวนอนทุ่ง นาสวน (นางสวน)
ปลาเข็ง
ภาคใต้ ศูนย์วิจัยข้าวปัตตานี มือลอ ลูกปลา
เสี้ยนโอน (ข้าวไร่)
ศูนย์วิจัยข้าวนครศรีธรรมราช ยาโค
ยุมหนุน
ลูกลาย
ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง เบายอดม่วง
ดาหอม (ข้าวไร่)
๑๖๓

งบประมาณที่เสนอขอตลอดแผนงาน (หนึ่งร้อยล้านบาท)
๑ แผนปฏิบัติการคัดสายพันธุ์บริสุทธิ์พันธุกรรมข้าวพื้นเมือง ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙ ตลอดแผนปฏิบัติการ
ในเชิงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น ปีละ
- ค่าใช้สอย : ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ยานพาหนะ ๓,๐๐๐,๐๐๐
- ค่าใช้สอย : ค่าจ้างเหมาแรงงาน/จ้างเหมาบริการ/จ้างรายเดือน
ป.ตรี/โท ๔,๐๐๐,๐๐๐
- ค่าใช้สอย : ค่าฝึกอบรมสัมมนา/จัดประชุม ๔๓๗,๒๐๐
- ค่าวัสดุ : สานักงาน ๖๐๐
- ค่าวัสดุ : เชื้อเพลิงและหล่อลื่น ๔๓๗,๒๐๐
- ค่าวัสดุ : วิทยาศาสตร์ ๖๐๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : คอมพิวเตอร์ ๑๒๕,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : เกษตร ๑,๔๐๐,๐๐๐
- ค่าครุภัณฑ์
รวม ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐

๐๒ แผนปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์ข้าวพันธุ์ผสมเพื่อเพิ่มคุณค่าทางพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง
แผนปฏิบัติการนี้มีเป้าหมายในการนาเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองจากศูนย์ปฏิบัติการและเก็บเมล็ดพันธุ์
เชื้อพันธุ์ข้าวแห่งชาติ มาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวพันธุ์ผสมให้มีลักษณะโดดเด่น เป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่มี
กาลังซื้อสูง หรือเป็นประโยชน์ต่อกระบวนการผลิตของเกษตรกร โดยแบ่งเป็นโครงการ ๑๐ โครงการ ซึ่งมีเป้าหมาย
ดังต่อไปนี้
๑. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานโรคไหม้และโรคไหม้ คอรวง เป็นการใช้ แหล่งพันธุกรรมต้านทาน
จากเชื้อพัน ธุกรรมข้าวพื้น เมืองถ่ายทอดลั กษณะไปยัง พันธุ์ปลูก ปัจจุบัน เช่น ขาวดอกมะลิ ๑๐๕ กข๑๕ ลืมผั ว
มะลินิลสุรินทร์ มะลิโกเมนสุรินทร์ ซึ่งอ่อนแอต่อโรคไหม้และโรคไหม้คอรวง จานวนอย่างน้อย ๑๐ สายพันธุ์
๒. โครงการปรั บ ปรุ ง พัน ธุ์ข้ าวต้า นทานโรคขอบใบแห้ ง เป็ นการใช้ แหล่ ง พัน ธุก รรมต้ านทานจากเชื้ อ
พัน ธุ ก รรมข้ า วพื้ น เมื องถ่ า ยทอดลั กษณะไปยั ง พั นธุ์ ป ลู ก ปัจ จุ บั น เช่ น ขาวดอกมะลิ ๑ ๐๕ กข๑๕ กข๖ กข๖๙
(ทับทิมชุมแพ) สังข์หยดพัทลุง ซึ่งอ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้ง จานวนอย่างน้อย ๕ สายพันธุ์
๓. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อ
พันธุกรรมข้าวพื้นเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังพันธุ์ปลูกส่วนใหญ่ในปัจจุบัน ซึ่งไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
และเพลี้ยกระโดดหลังขาว
๔. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานแมลงบั่ว เป็นการใช้ แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อพันธุกรรม
ข้าวพื้นเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยัง พันธุ์ปลูกส่วนมากในปัจจุบัน เช่น กข๖ กข๑๕ และขาวดอกมะลิ ๑๐๕ ซึ่งไม่
ต้านทานต่อแมลงบั่ว
๕. โครงการปรั บปรุงพันธุ์ข้าวแข่งขันกับวัช พืช เป็นการใช้ แหล่งพันธุกรรมต้านทานจากเชื้อพันธุกรรม
ข้ า วพื้ น เมื อ ง เช่ น พั น ธุ์ ร ากไผ่ ถ่ า ยทอดลั ก ษณะไปยั ง พั น ธุ์ ป ลู ก ทั้ ง หมดในปั จ จุ บั น ซึ่ ง ไม่ มี ค วามสามารถสู ง
ในการแข่งขันกับวัชพืช
๖. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวสะเทินน้าสะเทินบก หรือทนแล้ง เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมทนสภาพน้าน้อย
จากเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมืองข้าวไร่มาผสมกับข้าวนาสวน แล้วคัดเลือกสายพันธุ์ที่ปลูกได้ทั้งสภาพน้าขังและสภาพไร่
เช่น พันธุ์สกลนคร เพื่อเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลก หรือคัดเลือกสายพันธุ์ที่ ปลูก
ที่มีความทนแล้งเพื่อลดความเสี่ยงในสภาพนาอาศัยน้าฝน
๑๖๔

๗. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนดินเค็ม เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมทนต่อดินเค็มจากเชื้อพันธุกรรมข้าว
พื้นเมืองถ่ายทอดลักษณะไปยังข้าวปลูก เช่น กข๗๓ เพื่อให้สามารถปลูกได้ในสภาพดินเค็มในพื้นที่ต่าง ๆ
๘. โครงการปรั บ ปรุงพันธุ์ข้าวทนน้าท่ว ม เป็นการใช้ แหล่ งพันธุกรรมทนน้าท่ว มมาปรับปรุงพันธุ์ให้ ได้
ข้าวปลูกที่สามารถปลูกได้ในสภาพนาน้าท่วม เช่น กข๕๑
๙. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้บริโภค เป็นการใช้แหล่งพันธุกรรมกลุ่มข้าวพื้นเมือง
ที่เยื่อหุ้ มเมล็ ดสีแดงและสี ดา เช่น เบายอดม่ว ง เหนียวดาหมอ มะลิ นิล สุ รินทร์ มะลิโ กเมนสุรินทร์ ก่าเขยหล้ า
ข้าวเหนียวแดง ซึ่งเหมาะในการบริโภคเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้บริโภคที่มีกาลังซื้อสูงวัยทางาน และกลุ่มข้าวพื้นเมือง
ที่มีน้าตาลต่าหรือมี Resistant Starch ในสัดส่วนที่สูงซึ่งเหมาะสาหรับผู้บริโภคที่มีปัญหาสุขภาพซึ่งมักเป็นผู้มีกาลังซื้อสูง
มาปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิต
๑๐. โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวซึ่งมีคุณภาพการบริโภคที่โดดเด่นและหลากหลาย เป็นการใช้พันธุกรรมข้าว
พื้นเมืองของไทยมีจานวนมากที่มีคุณภาพการหุงต้มรับประทานดีและมีเอกลักษณ์เฉพาะ เช่น หอมหัวบอน ช่อไม้ไผ่
เม็ดฝ้าย ลืมผัว หอมภูเขียว มาใช้พัฒนาพันธุ์ที่สามารถให้ผลิตผลเมล็ดมีความหลากหลายของคุณภาพการบริโภค
ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ดา้ นรูปร่าง กลิ่น สี ความเหนียวจากเมือกหุ้มเมล็ด และรสชาติ
งบประมาณที่เสนอขอตลอดแผนงาน (สามร้อยยี่สิบล้านบาท)
๐๒ แผนปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์ข้าวพันธุ์ผสมเพื่อเพิ่มคุณค่า ๒๕๖๕ - ๒๕๗๔ ตลอดแผนปฏิบัติการ
ทางพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง ปีละ
- ค่าใช้สอย : ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก ยานพาหนะ ๗,๐๐๐,๐๐๐
- ค่าใช้สอย : ค่าจ้างเหมาแรงงาน/จ้างเหมาบริการ/จ้างรายเดือน
ป.ตรี/โท ๕,๐๔๐,๐๐๐
- ค่าใช้สอย : ค่าฝึกอบรมสัมมนา/จัดประชุม ๑,๔๐๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : สานักงาน ๑,๔๐๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : เชื้อเพลิงและหล่อลื่น ๒,๘๐๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : วิทยาศาสตร์ ๑,๒๐๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : คอมพิวเตอร์ ๑,๒๖๐,๐๐๐
- ค่าวัสดุ : เกษตร ๕,๖๐๐,๐๐๐
- ค่าครุภัณฑ์ ๖,๓๐๐,๐๐๐
รวม ๓๒,๐๐๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐,๐๐๐

รวมงบประมาณสาหรับแผนงาน “การใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง” สามร้อยเจ็ดสิบล้านบาท


กรอบตาแหน่งที่ขอเพิ่มเติมเพื่อรองรับแผนงาน “การใช้ประโยชน์จากเชื้อพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง”
๐๑ แผนปฏิบัติการคัดสายพันธุ์บริสุทธิ์พันธุกรรมข้าวพื้นเมืองในเชิงอัตลักษณ์ของท้องถิ่น
นักวิชาการเกษตร ระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานใน ๒๘ ศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์ฯ ละ ๑ อัตรา รวม ๒๘ อัตรา
นักวิชาการเกษตร ระดับปริญญาโท จานวน ๓ อัตรา
๐๒ แผนปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์ข้าวพันธุ์ผสมเพื่อเพิ่มคุณค่าทางพันธุกรรมข้าวพื้นเมือง
นักวิชาการเกษตร ระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานใน ๒๘ ศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์ฯ ละ ๑ อัตรา รวม ๒๘ อัตรา
นักวิชาการเกษตร ระดับระดับปริญญาโท จานวน ๕ อัตรา
๑๖๕

แผนงานการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์จาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง
*************************

ด้ว ยปั จ จุ บั น เกษตรกรไทยมี ความต้อ งการใช้ เมล็ ด พัน ธุ์ข้ าวส าหรั บการผลิ ตในนาปี และนาปรัง ปี ล ะ
ประมาณ ๑.๔ ล้ านตัน (ข้าวหอมมะลิ ๕๐๐,๐๐๐ ตัน ข้าวหอมไทย ๑๐๐,๐๐๐ ตัน ข้าวเจ้า ๕๑๘,๐๐๐ ตัน
ข้าวเหนี ย ว ๒๗๕,๐๐๐๐ ตัน ข้าวตลาดเฉพาะ ๗,๐๐๐ ตัน ) ในจานวนนี้ เกษตรกรเก็บเมล็ ดพันธุ์จ ากแปลง
ของตนเองไว้ใช้ ประมาณ ๗,๐๐๐,๐๐๐ ตัน ส่วนอีกประมาณ ๗,๐๐๐,๐๐๐ ตันนั้น เป็นเมล็ดพันธุ์จาหน่ายจาก
กรมการข้าว ๘๕,๐๐๐ ตัน จากศูนย์ข้าวชุมชนที่อยู่ในความดูแลของกรมการข้าว ซึ่งมี ๒,๓๗๔ ศูนย์ ประมาณ
๑๑๒,๐๐๐ ตัน จากสหกรณ์การเกษตรซึ่งกรมส่งเสริมสหกรณ์กากับดูแล ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ตัน จากภาคเอกชน
หรือผู้รวบรวมและจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ตัน จึงยังขาดเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ประมาณ ๑๗๓,๐๐๐ ตัน
ทาให้เกษตรกรไทยยังขาดความมั่นคงด้านเมล็ดพันธุ์ข้าว ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงต้องเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี
เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลผลิ ต คุ ณ ภาพดี เมล็ ด พัน ธุ์ ดี คื อ เมล็ ด ที่ มี ค วามงอกและความบริ สุ ท ธิ์ สู ง มี ลั ก ษณะตรงตามพั น ธุ์
ขนาดของเมล็ดสม่าเสมอไม่มีพืชอื่นหรือเมล็ดวัชพืชปะปน ไม่ถูกโรคและแมลงทาลาย มีความชื้นในเมล็ดที่เหมาะสม
ในการเก็บรักษาสาหรับปลูกในฤดูต่อไป ในการจาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง โดยปริมาณการผลิต เมล็ดพันธุ์
จาหน่ายจากกรมการข้าวและศูนย์ข้าวชุมชนควรเพิ่มจากประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ตันหรือร้อยละ ๓๐ ของเมล็ดพันธุ์
จาหน่ายที่ชาวนาต้องซื้อมาใช้ เป็น ประมาณ ๔๒๐,๐๐๐ ตัน หรือร้อยละ ๖๐ อย่างเร่งด่วน ก่อนที่จะบังคับ ใช้
กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืชที่มีผลใกล้เคียงกับหลักการของอนุสัญญา UPOV 1991 ในอนาคต
๐๓ แผนปฏิบัติการเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์คัดและเมล็ดพันธุ์หลัก
แผนปฏิบัติการนี้ กองวิจัยและพัฒนาข้าวมีเป้าหมายในการเพิ่มการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี อีกจานวน
๓,๘๕๐ ตัน โดยแบ่งเป็น เมล็ดพันธุ์คัดซึ่งมีความบริสุทธิ์มากที่สุด ต้องได้รับการดูแลรักษา การตรวจสอบที่เข้มงวด
ที่สุด เพื่อใช้ในการผลิตเมล็ดเป็นเมล็ดพันธุ์คัดและเป็นเมล็ดพันธุ์หลักในรุ่นต่อไป จานวน ๓๕๐ ตัน และเมล็ดพันธุ์หลัก
จานวน ๓,๕๐๐ ตัน เพื่อส่งต่อให้ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวใช้เป็นเมล็ดเริ่มต้นในการผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์
จาหน่าย ตามแผนปฏิบัติการเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ซึ่งเมล็ดพันธุ์ขยายส่วนหนึ่ง
จะถูกส่งต่อให้ ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนใช้ผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์จาหน่าย ตามแผนปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถ
ในการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์ข้าวชุมชนต่อไป
แผนปฏิบัติการนี้แบ่งเป็น ๔ โครงการ คือ
๑. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์คัด
ปลูกแบบรวง/แถว ตรวจตัดข้าวปนตามมาตรฐานของกรมการข้าว เก็บผลผลิตเป็นรวง ๆ เพื่อเป็นพันธุ์
ปลูกสาหรับผลิตพันธุ์คัดต่อไป และอีกส่วนหนึ่งนวดรวมกันเพื่อนาไปผลิตเป็นเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์หลัก เพื่อนาไป
ทางานวิจัย และเพื่อการสารองพันธุ์ชั้นความบริสุทธิ์สูง
๒. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก
ปลูกแบบปักดาหรื อหว่าน ตรวจตัดข้าวปนตามมาตรฐาน ของกรมการข้าว ผลผลิ ตที่ได้หลั งจากผ่าน
มาตรฐานชั้ น พัน ธุ์ห ลั ก แล้ ว จั ด ส่ ง ไปให้ ศู น ย์ เ มล็ ดพั นธุ์ ข้ าว เพื่ อผลิ ตเป็น ชั้น พั นธุ์ ขยายและพัน ธุ์จ าหน่ ายต่อ ไป
นอกจากนั้นยังดาเนินการผลิตเมล็ดพันธุ์หลักเพื่อสนับสนุนการผลิตเมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรในพื้นที่เฉพาะ เช่น
พันธุ์ข้าวไร่ ข้าวนาที่สูง พันธุ์ข้าวน้าลึก และข้าวเฉพาะถิ่นต่าง ๆ
๓. โครงการตรวจสอบคุ ณ ภาพเมล็ ด พั น ธุ์ ใ นห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร ท าการตรวจสอบมาตรฐานเมล็ ด พั น ธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA
๔. โครงการจัดหาเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก
๑๖๖

๐๔ แผนปฏิบัติการเพิ่มกาลังการผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่าย
แผนปฏิบัติการนี้ กองเมล็ดพันธุ์ข้าวมีเป้าหมายในการเพิ่มการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดีชั้นพันธุ์ขยายและ
เมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว ๒๙ ศูนย์ จากเดิมที่สามารถผลิตได้ ๘๕,๐๐๐ ตัน เป็นจานวน ๒๐๐,๐๐๐ ตัน
โดยจะต้องมีระบบการผลิตที่มีการวางแผน ติดตาม ดูแล กากับ การปฏิบัติ ควบคุมและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
ทุกขั้ น ตอนของกระบวนการผลิ ต ให้ ถูก ต้อ ง ตามหลั ก วิช าการ เหมาะสม และรวดเร็ว ทั นสถานการณ์ ซึ่ง การ
ด าเนิ น การดั ง กล่ า วจ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การสนั บ สนุ น งบประมาณที่ ม ากพอ รวมทั้ ง ต้ อ งสามารถบริ ห ารจั ด การ
งบประมาณให้มีความคล่องตัว สอดคล้องกับภารกิจและกิจกรรม จึงจะทาให้ขบวนการผลิตและกระจายเมล็ดพันธุ์ดี
ของกรมการข้าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การดาเนินการผลิตเมล็ดพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่าย มีรายละเอียดการดาเนินงานแต่ละกิจกรรม ดังนี้
๑. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
๑.๑ จัดประชุมผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกาหนดเป้าหมายการผลิต
๑.๒ ประชุมชี้แจง คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกร
๑.๓ จัดอบรมเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์
๑.๔ จาหน่ายเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้จัดทาแปลงขยายพันธุ์ให้แก่เกษตรกรผลิตเมล็ดพันธุ์
๑.๕ ติดตาม ควบคุม ให้คาแนะนาการจัดทาแปลงขยายพันธุ์ของเกษตรกร
๑.๖ จัดซื้อเมล็ดพันธุ์คืนจากเกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์
๑.๗ ปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์
๑.๘ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เพื่อการจาหน่าย
๑๖๗

งบประมาณที่เสนอขอตลอดแผนปฏิบัติการ (หนึ่งพันยี่สิบสองล้านสี่แสนห้าหมื่นห้าพันสองร้อยบาท)
๒๕๖๕ ๒๕๖๖ - ๒๕๖๘ ตลอดแผนปฏิบัติการ
ปีละ
หมวดเงิน หน่วย ปริมาณ ราคาต่อ งบประมาณ
นับ หน่วย (บาท)
(บาท)
งบดาเนินงาน
๑.๑ การผลิต ตัน ๓๕๐ ๗๐,๐๐๐ ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ ๒๔,๕๐๐,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐
เมล็ดพันธุ์คัด
๑.๒ การผลิต ตัน ๓,๕๐๐ ๓๕,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐ ๑๒๒,๕๐๐,๐๐๐ ๖๑๒,๕๐๐,๐๐๐
เมล็ดพันธุ์หลัก
รวม ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๗๓๕,๐๐๐,๐๐๐
งบลงทุน –
๒.๑ สิ่งก่อสร้าง ๑๐๘,๑๙๗,๐๐๐ – ๑๐๘,๑๙๗,๐๐๐
๒.๒ ครุภัณฑ์ที่ใช้ ๙๖,๓๓๘,๒๐๐ – ๙๖,๓๓๘,๒๐๐
ในแปลงนา
๒.๓ ครุภัณฑ์ที่ใช้ ๒๘,๖๔๕,๐๐๐ – ๒๘,๖๔๕,๐๐๐
ในการจัดการ
หลังการเก็บเกี่ยว
๒.๔ ครุภัณฑ์ที่ใช้ ๕๔,๒๗๕,๐๐๐ – ๕๔,๒๗๕,๐๐๐
ในห้องปฏิบัติการ
รวม ๒๘๗,๔๕๕,๒๐๐ – ๒๘๗,๔๕๕,๒๐๐
งบประมาณรวม ๔๓๔,๔๕๕,๒๐๐ ๑๔๗,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๒๒,๔๕๕,๒๐๐
๑๖๘

๒. โครงการควบคุมคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
๒.๑ ตรวจตัดสินคุณภาพแปลงขยายพันธุ์ข้าว
๒.๒ สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์และตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในกระบวนการผลิตทั้งหมด ภายในห้องปฏิบัติการ
การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ ดังนี้
- เมล็ดพันธุ์เพื่อใช้จัดทาแปลงขยายพันธุ์ข้าว
- เมล็ดพันธุ์ก่อนจัดซื้อคืนจากเกษตรกร
- เมล็ดพันธุ์ระหว่างจัดซื้อคืนจากเกษตรกร
- เมล็ดพันธุ์ก่อนปรับปรุงสภาพ
- เมล็ดพันธุ์ระหว่างปรับปรุงสภาพ
- เมล็ดพันธุ์หลังปรับปรุงสภาพ
- เมล็ดพันธุ์ระหว่างเก็บรักษา
๓. โครงการจาหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าว
๓.๑ จาหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวให้แก่หน่วยงานราชการ กลุ่มเกษตรกร ผู้ประกอบการผลิตเมล็ดพันธุ์
ตัวแทนจาหน่ายเมล็ดพันธุ์และเกษตรกรทั่วไป
๓.๒ จาหน่ายเมล็ดพันธุ์ข้าวให้แก่ศูนย์ข้าวชุมชน เพื่อนาไปผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย
๔. โครงการส่งเสริมชาวนาใช้เมล็ดพันธุ์ดี
๔.๑ จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ ส่งเสริมให้ชาวนาใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์ดี ผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ
ได้แก่ ป้ายพลาสติกไวนิล เอกสารคาแนะนา แผ่นพับ จดหมายข่าว และชุดนิทรรศการสาเร็จรูป
๔.๒ จัดงานวันรณรงค์การใช้เมล็ดพันธุ์ดี
๕. โครงการจัดหาเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการผลิตเมล็ดพันธุ์ชั้นพันธุ์ขยายและจาหน่าย

งบประมาณที่เสนอขอตลอดแผนปฏิบัติการ (สี่พันเจ็ดร้อยสามสิบสองล้านบาทถ้วน)
หมวดเงิน งบประมาณ (ล้านบาท)
๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ รวม
งบดาเนินงาน ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๑,๓๕๕
งบลงทุน ๑๕๐ ๑๕๐
งบอุดหนุน ๕๘๒ ๕๘๒
งบรายจ่ายอื่น ๑,๖๐๐ - - - - ๑,๖๐๐
(สาหรับ
ค่าใช้จ่ายของ
เงินทุน
หมุนเวียนฯ )
งบประมาณ ๒,๖๐๓ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๒๗๑ ๓,๖๘๗
รวม (ล้าน
บาท)
๑๖๙

๐๕ แผนปฏิบัติการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์ข้าวชุมชน
แผนปฏิ บั ติ ก ารนี้ กองเมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า วมี เ ป้ า หมายในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ผ ลการผลิ ต เมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า วพั น ธุ์ ดี
ชั้นพันธุ์ขยายและเมล็ดพันธุ์จาหน่ายของศูนย์ข้าวชุมชนที่มีอยู่จานวน ๒,๓๗๔ ศูนย์ ใน ๗๔ จังหวัด ซึ่งปัจจุบัน
มีข้อจากัดของการดาเนินงานหลายประการ เช่น การสนับสนุนงบประมาณเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการดาเนินงาน
ไม่เพียงพอและขาดความต่อเนื่อง การขาดแคลนเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีที่จะนามาเป็นหัวเชื้อในการขยายเป็นเมล็ด
พันธุ์ข้าวจาหน่ายในชุมชน ขาดแคลนเครื่องจักรกลทางการเกษตรที่ใช้ในการผลิตและปรับปรุงคุณภาพเมล็ดพันธุ์
ข้าว เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานที่ทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในระดับพื้นที่มีจานวนไม่เพียงพอ รวมทั้งเงินหมุนเวียนในการซื้อ
เมล็ดพันธุ์ข้าวจากสมาชิก โดยจะพัฒนาระดับการผลิตเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ ข้าวชุมชนให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่มีมาตรฐาน
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยการสนับสนุน เมล็ดพันธุ์ขยาย เงินทุนหมุนเวียน ครุภัณฑ์ที่จาเป็น
และคาแนะนาในการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่าย โดยมีเป้าหมายในการเพิ่มปริมาณการผลิต เมล็ดพันธุ์จาหน่ายจากเดิม
ประมาณ ๑๑๒,๐๐๐ ตัน เป็นปริมาณการผลิตเมล็ดพันธุ์จาหน่ายที่มีคุณภาพตามมาตรฐานคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าว
พ.ศ. ๒๕๕๗ ประมาณ ๒๒๐,๐๐๐ ตัน โดยมีแผนการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ของศูนย์ข้าว
ชุมชน ระยะ ๕ ปี ดังนี้
ปีที่ ๑ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ A จานวน ๑๐๐ แห่ง เป็นแห่งละ ๓๐๐ ตัน และ
ระดับ B จานวน ๑๐๐ แห่ง เป็นแห่งละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๕๐,๐๐๐ ตัน
ด้วยงบประมาณ ๔,๓๕๖,๒๐๐,๐๐๐ บาท
ปีที่ ๒ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ขา้ วของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ A จานวน ๑๕๐ แห่ง ๆ ละ ๓๐๐ ตัน และระดับ B
จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๖๕,๐๐๐ ตัน ด้วยงบประมาณ
๕,๔๙๕,๒๕๐,๐๐๐ บาท
ปีที่ ๓ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ A จานวน ๑๕๐ แห่ง ๆ ละ ๓๐๐ ตัน และระดับ B
จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๖๕,๐๐๐ ตัน ด้วยงบประมาณ
๕,๔๙๕,๒๕๐,๐๐๐ บาท
ปีที่ ๔ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิต
เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๒๐,๐๐๐ ตัน ด้วยงบประมาณ ๒,๐๗๘,๑๐๐,๐๐๐ บาท
ปีที่ ๕ เพิ่มผลผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของศูนย์ข้าวชุมชน ระดับ B จานวน ๑๐๐ แห่ง ๆ ละ ๒๐๐ ตัน ผลผลิต
เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ รวม ๒๐,๐๐๐ ตัน ด้วยงบประมาณ ๒,๐๗๘,๑๐๐,๐๐๐ บาท
เมื่อสิ้นสุดแผนปฏิบัติการ ศูนย์ข้าวชุมชนระดับ A และ B รวม ๙๐๐ แห่ง จากทั้งหมด ๒,๓๗๔ แห่ง จะมี
ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานฯ ปีละ ๒๒๐,๐๐๐ ตัน โดยศูนย์ข้าวชุมชนระดับ C และ D จะยังมีผลผลิต
เมล็ดพันธุ์จาหน่ายตามปกติต่อไป
รวมงบประมาณตลอดแผนปฏิบัติการ ๑๙,๕๐๒,๙๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นเก้าพันห้าร้อยสองล้านเก้าแสนบาท)
๑๗๐

งบประมาณเพื่อการยกระดับการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีของศูนย์ข้าวชุมชน (ศขช.) แต่ละระดับ


ระดับ ผล จานวน เมล็ด เงินทุน รถเกี่ยว ชุดเครื่องอบ ชุดเครื่องคัด รวม รวมงบประมาณ
ศขช. ผลิต (แห่ง) พันธุ์ข้าว หมุนเวียน นวดข้าว ลดความชื้น ทาความ งบประมาณ ทั้งสิ้น
(ตัน) คุณภาพ แห่งละ แห่งละ เมล็ดพันธุ์ สะอาด สนับสนุน (บาท)
ดี (ตัน) (บาท) (บาท) ข้าว แห่งละ เมล็ดพันธุ์ข้าว แห่งละ
(บาท) แห่งละ (บาท)
(บาท)

A ๓๐๐ ๔๐๐ ๘๑,๐๐๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๒๐๐,๐๐๐ ๒๒,๗๘๑,๐๐๐ ๙,๑๑๒,๔๐๐,๐๐๐

B ๒๐๐ ๕๐๐ ๘๑,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑๔,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๒๐๐,๐๐๐ ๒๐,๗๘๑,๐๐๐ ๑๐,๓๙๐,๕๐๐,๐๐๐

แผนการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์ของศูนย์ข้าวชุมชน ระยะ ๕ ปี
ปีที่ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ รวม
ระดับ A+B A+B A+B B B
จานวน ๑๐๐+๑๐๐ ๑๕๐+๑๐๐ ๑๕๐+๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๒,๓๗๔
(แห่ง)
งบประมาณ ๔,๓๕๖.๒๐ ๕,๔๙๕.๒๕ ๕,๔๙๕.๒๕ ๒,๐๗๘.๑๐ ๒,๐๗๘.๑๐ ๑๙,๕๐๒.๙๐
(ล้านบาท)
ผลผลิตเมล็ด ๕๐,๐๐๐ ๖๕,๐๐๐ ๖๕,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๒๒๒,๐๐๐
พันธุ์เพิ่มขึ้น
(ตัน/ปี)
กรอบตาแหน่งที่ขอเพิ่มเติมเพื่อรองรับแผนงาน “การเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุ์จาหน่ายให้เกษตรกรอย่างพอเพียง”
หน่วยงาน ตาแหน่ง จานวน (อัตรา)
สานักส่งเสริมการผลิตข้าว นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๒
กองเมล็ดพันธุ์ข้าว นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๑
สถาบันวิทยาศาสตร์ข้าว นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๒
แห่งชาติ พนักงานราชการ ๒
ศูนย์วิจัยข้าว (๒๗ แห่ง) นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๒๗
พนักงานราชการ ๒๗
ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว (๒๘ แห่ง) นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๒๘
พนักงานราชการ ๒๘
รวม นักวิชาการเกษตร ระดับปฏิบัติการขึ้นไป ๖๐
พนักงานราชการ ๕๗
๑๗๑

สรุปความต้องการสาหรับกรมการข้าวเพื่อดาเนินการตามแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเข้มแข็งด้านพันธุ์และ
เมล็ดพันธุ์ข้าว
๑) งบประมาณรวม ๒๔,๕๘๒,๓๕๕,๒๐๐ บาท (สองหมื่นสี่พันห้าร้อยแปดสิบสองล้านสามแสนห้าหมื่นห้าพัน
สองร้อยบาทถ้วน)
๒) กรอบอัตรากาลัง
o พนักงานราชการ ระดับปริญญาตรี ๑๑๖ ตาแหน่ง
o นักวิชาการ ระดับปริญญาตรี ๕๗ ตาแหน่ง
o นักวิชาการ ระดับปริญญาโท ๘ ตาแหน่ง
๑๗๒
๑๗๓
๑๗๔
ภาคผนวก ญ
บันทึกข้อสงวนความเห็นของกรรมาธิการวิสามัญ
ภาคผนวก ฎ
รายงานของคณะอนุกรรมาธิการ

คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการเกษตรและพันธุ์พืช

คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านการแพทย์และสาธารณสุข

คณะอนุกรรมาธิการศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุน

You might also like